กรมวิชาการเกษตร
# | ชื่อเรื่อง | view |
---|---|---|
3852 |
ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร profenofos
ผู้วิจัย นางสาวมนัสนันท์ อรชุน หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
5 |
3847 |
การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตรกลุ่มสารกําจัดแมลง
ผู้วิจัย นางสาวทัศนี จงกลาง หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
6 |
3845 |
ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์วัตถุมีพิษการเกษตร ametryn
ผู้วิจัย นางจิติมา ยถาภูธานนท์ หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
4 |
3647 |
ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์โพแทชที่ละลายน้ําในปุ๋ยเคมี
ผู้วิจัย สรัญญา ช่วงพิมพ์ หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 |
8 |
3646 |
การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์โพแทชทีละลายนําได้ในปุ๋ยเคมี
ผู้วิจัย อรพิน หนูทอง หน่วยงาน งานวิเคราะห์ปุ๋ย กลุ่มพัฒนาการตรวจสอบพืชและปัจจัยการผลิต สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 |
7 |
3644 |
ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์โพแทชที่ละลายน้ํา ในปุ๋ยเคมี
ผู้วิจัย นางจิติมา ยถาภูธานนท์ หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 |
7 |
3640 |
ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจนในปุ๋ยเคมี
ผู้วิจัย นางสาวจิราภา เมืองคล้าย หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 |
6 |
3638 |
ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์แอมโมเนียมไนโตรเจนในปุ๋ยเคมี
ผู้วิจัย นางสาวบังอร แสนคาน หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 |
6 |
3636 |
ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์โพแทชที่ละลายน้ําในปุ๋ยเคมี
ผู้วิจัย นางนาตยา จันทร์ส่อง หน่วยงาน กลุ่มพัฒนาการตรวจสอบพืชและปัจจัยการผลิต สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 |
6 |
3622 |
การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ไนโตรเจนทั้งหมดในปุ๋ยเคมี
ผู้วิจัย อรัญญา ลุนจันทา หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 |
8 |
3620 |
พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์แอมโมเนียมไนโตรเจนในปุ๋ยเคมี
ผู้วิจัย นางทองจันทร์ พิมพ์เพชร หน่วยงาน กลุ่มงานพัฒนาระบบตรวจสอบคุณภาพปุ๋ย สปผ. , กลุ่มวิจัยเกษตรเคมี สปผ. |
8 |
3617 |
พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ไนโตรเจนทั้งหมดในปุ๋ยเคมี
ผู้วิจัย ทองจันทร์ พิมพ์เพชร หน่วยงาน กลุ่มงานพัฒนาระบบตรวจสอบคุณภาพปุ๋ย สปผ. |
8 |
3614 |
วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างไดเมโทเอต (dimethoate) ในถั่วฝักยาว เพื่อกําหนดค่า ปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 3 และ 4
ผู้วิจัย ลักษมี เดชานุรักษ์นุกูล หน่วยงาน กลุ่มวิจัยวัตถุมีพิษการเกษตร สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
49 |
3609 |
วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของฟิโปรนิลในถั่วฝักยาวเพื่อกําหนดค่าปริมาณ สูงสุดของสารพิษตกค้าง ครั้งที่3 และ 4
ผู้วิจัย ศศิมา มั่งนิมิตร์ หน่วยงาน กลุ่มวิจัยวัตถุมีพิษการเกษตร สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
11 |
3607 |
วิจัยการสลายตัวของสารพิษตกค้างของ profenofos ในถั่วเหลืองฝักสด เพื่อกําหนดค่าปริมาณสูงสุด ของสารพิษตกค้าง (MRL) ครั้งที่ 1และ 2
ผู้วิจัย วิสุทธิ เชวงศรี หน่วยงาน กลุ่มวิจัยวัตถุมีพิษการเกษตร สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
8 |
3365 |
วิจัยการสลายตัวของสารพิษตกค้าง chlorpyrifos ในถั่วเหลืองฝักสด เพื่อกําหนดค่า ปริมาณสูงสุดของสารพิษ [MRLs] ครั้งที่ 3 และ 4
ผู้วิจัย ปิยะศักดิ์ อรรคบุตร หน่วยงาน กลุ่มวิจัยวัตถุมีพิษการเกษตร สปผ. |
28 |
3364 |
วิจัยปริมาณสารพิษตกค้าง Abamectin ในองุ่น เพื่อกําหนดค่าปริมาณสูงสุดของ สารพิษตกค้าง ครั้งที่ 1 และ 2
ผู้วิจัย ประชาธิปัตย์ พงษ์ภิญโญ หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
29 |
3363 |
วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างอีไธออนในส้มเขียวหวานเพื่อกําหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง (ครั้งที่ 3-4)
ผู้วิจัย ยงยุทธ ไผ่แก้ว หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
31 |
3362 |
วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างเมทธิดาไธออนในส้มเขียวหวานเพื่อกําหนดค่าปริมาณสูงสุด ของสารพิษตกค้าง (ครั้งที่ 3-4)
ผู้วิจัย ประภัสสรา พิมพ์พันธุ์ หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
28 |
3361 |
วิจัยการสลายตัวของสารพิษตกค้างของ prothiophos ในมะเขือยาวเพื่อกําหนดค่า ปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง (MRL) ครั้งที่ 3 และ 4
ผู้วิจัย จินตนา ภู่มงกุฎชัย หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
30 |
3360 |
การเพิ่มปริมาณแหนแดงเพื่อการผลิตวัสดุพาสําหรับการผลิตปุ๋ยชีวภาพ
ผู้วิจัย ศิริลักษณ์ แก้วสุรลิขิต หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
34 |
3359 |
การคัดเลือกสายพันธุ์ราอาบัสคูลาไมโคไรซ่าที่สร้างสปอร์อยู่ในรากพืชเป็นปริมาณมาก
ผู้วิจัย สุภาพร ธรรมสุระกุล หน่วยงาน กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
30 |
3273 |
การคัดเลือกชนิดของแบคทีเรียละลายโพแทสเซียมที่เหมาะสมกับชนิดของแหล่งโพแทสเซียม
ผู้วิจัย ศิริลักษณ์ จิตรอักษร หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
46 |
3267 |
การคัดเลือกสายพันธุ์สาหร่ายสีเขียวแกมน้ําเงินที่สามารถสร้างโปรตีนและมวลชีวภาพสูง
ผู้วิจัย ประไพ ทองระอา หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
50 |
3264 |
การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืช สำหรับการนำเข้าเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดจากประเทศญี่ปุ่น
ผู้วิจัย ณัฏฐพร อุทัยมงคล หน่วยงาน กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
36 |
3254 |
การศึกษาชนิดของแมลง/ไร/สัตว์ศัตรูพืชส่งออก ได้แก่ มะละกอและ มะพร้าวน้ําหอม พืชนําเข้า ได้แก่ ปาล์มน้ํามันและหัวพันธุ์ไม้ดอก
ผู้วิจัย ลักขณา บํารุงศรี หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
36 |
3238 |
ศักยภาพของฝอยทองในการควบคุมหญ้าดอกขาว
ผู้วิจัย เสริมศิริ คงแสงดาว หน่วยงาน กลุ่มวิจัยวัชพืช สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
33 |
3233 |
ศีกษาระบบการผลิตสับปะรดพันธุ์ตราดสีทองในพื้นที่จังหวัดตราด
ผู้วิจัย เพ็ญจันทร์ ธาตุไพบูลย์ หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่6 |
39 |
3232 |
ศึกษาและสํารวจข้อมูลการผลิตกระวานและเร่วในพื้นที่ภาคตะวันออก
ผู้วิจัย หฤทัย แก่นลา หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรจันทบุรี,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปราจีนบุรี,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรระยอง |
38 |
3224 |
การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียในพริกจังหวัดอุบลราชธานี
ผู้วิจัย นาตยา จันทร์ส่อง หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4,สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
33 |
3218 |
การทดสอบการผลิตและการตลาดปทุมมาลูกผสมชุดที่ 2
ผู้วิจัย วิภาดา ทองทักษิณ หน่วยงาน สถาบันวิจัยพืชสวน,ศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย |
35 |
3217 |
การปรับปรุงพันธุ์พริกขี้หนูเลย
ผู้วิจัย เสาวนี เขตสกุล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครพนม,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรชัยภูมิ |
53 |
3216 |
การปรับปรุงพันธุ์พริกขี้หนูยอดสน
ผู้วิจัย จิรภา ออสติน หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครพนม,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรหนองคาย,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรชัยภูมิ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรโนนสูง |
46 |
3215 |
การวิจัยและพัฒนาเครื่องลดความชื้นดอกกล้วยไม้แบบอุโมงค์ลมก่อนการบรรจุหีบห่อ
ผู้วิจัย พุทธธินันทร์ จารุวัฒน์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมจันทบุรี,สถาบันวิจัยพืชสวน,กลุ่มวิจัยวิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยว |
43 |
3214 |
ระบบสารสนเทศการผลิตและการตลาดมะม่วงในเขตจังหวัดนครราชสีมา ฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี
ผู้วิจัย สมโภช เภรี หน่วยงาน ศูนย์สารสนเทศ,สถาบันวิจัยพืชสวน |
36 |
3213 |
การวิเคราะห์เปรียบเทียบปัจจัยการผลิตมะม่วงในพื้นที่ผลิตการค้า
ผู้วิจัย เกษมศักดิ์ ผลากร หน่วยงาน สถาบันวิจัยพืชสวน,ศูนย์สารสนเทศ กรมวิชาการเกษตร |
42 |
3210 |
ทดสอบสารกําจัดวัชพืชที่มีประสิทธิภาพในการฆ่าตอสับปะรด
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
38 |
3209 |
การคัดเลือกสับปะรดลูกผสมชั่วที่ 1 (F1 รุ่นที่ 2) ที่เหมาะสมสําหรับการการคัดเลือกสับปะรดลูกผสม
ผู้วิจัย มัลลิกา นวลแก้ว หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบุรี |
40 |
3208 |
การเปรียบเทียบพันธุ์ข้าวฟ่างหวานในไร่เกษตรกร
ผู้วิจัย กนกทิพย์ เลิศประเสริฐรัตน์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น,ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลพบุรี |
37 |
3202 |
การศึกษากรรมวิธีการผลิตงางอก
ผู้วิจัย ศิริรัตน์ กริชจนรัช หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 |
46 |
3200 |
ทดสอบและพัฒนาเครื่องหั่นย่อยต้นถั่วลิสง
ผู้วิจัย มงคล ตุ่นเฮ้า หน่วยงาน ศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมขอนแก่น |
45 |
3198 |
การทดสอบการผลิตและการตลาดปทุมมาลูกผสมชุดที่ 2
ผู้วิจัย วิภาดา ทองทักษิณ หน่วยงาน สถาบันวิจัยพืชสวน,ศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย |
53 |
3196 |
ผลของวันปลูกต่ออัตราและระยะเวลาการสะสมน้ําหนักแห้งของเมล็ดถั่วเขียวผิวดําสายพันธุ์ดีเด่น
ผู้วิจัย อัจฉรา จอมสง่าวงศ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท |
53 |
3195 |
ผลของพันธุ์ต่ออัตราและระยะเวลาการสะสมน้ําหนักแห้งของเมล็ดถั่วเขียวผิวดําสายพันธุ์ดีเด่น
ผู้วิจัย อัจฉรา จอมสง่าวงศ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท |
47 |
3194 |
ศึกษาวิธีการเก็บรักษาเมล็ดถั่วเหลืองที่เหมาะสมเพื่อลดการสูญเสียปริมาณและคุณภาพ
ผู้วิจัย อรวรรณ จิตต์ธรรม หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
58 |
3192 |
การทดสอบชุดเทคโนโลยีการผลิตถั่วเหลืองที่เหมาะสมในจังหวัดชัยภูมิ
ผู้วิจัย รัชนีวรรณ ชูเชิด หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรชัยภูมิ |
44 |
3190 |
การปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดเพื่อผลผลิตสูงในแต่ละพื้นที่ (การเปรียบเทียบเบื้องต้น)
ผู้วิจัย รัชนี โสภา หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม |
54 |
3188 |
การวิจัยพัฒนาพันธุ์และเทคโนโลยีการผลิตกล้วยเพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตคุณภาพและมูลค่าการตลาดกล้วย
ผู้วิจัย เพ็ญจันทร์ สุทธานุกูล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย, สถาบันวิจัยพืชสวน,สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร,สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่, สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2,ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีษะเกษ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรยะลา,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบุรี,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอุดรธานี |
95 |
3174 |
การศึกษาปริมาณสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในผลิตภัณฑ์จากกล้วยเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์จากข้าวบาร์เลย์
ผู้วิจัย ภูวสินธ์ ชูสินธ์ หน่วยงาน สํานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืชกรมวิชาการเกษตร |
50 |
3172 |
การผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากกล้วย
ผู้วิจัย โกเมศ สัตยาวุธ หน่วยงาน กลุ่มวิจัยและพัฒนาการแปรรูปผลิตผลเกษตร สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
61 |
3171 |
การเพิ่มคุณภาพผลผลิตกล้วยไข่ช่วงฤดูแล้ง เพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย ประนอม ใจอ้าย หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่,สถาบันวิจัยพืชสวน |
48 |
3167 |
ศึกษาระบบปลูกกล้วยไข่เพื่อกระจายการผลิตกล้วยไข่ส่งออก
ผู้วิจัย เพ็ญจันทร์ สุทธานุกูล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย,สถาบันวิจัยพืชสวน |
45 |
3165 |
สํารวจรวบรวมข้อมูลปริมาณและการกระจายตัวของกล้วยที่ปลูกในภาคต่างๆ ของประเทศไทย (ม.ค.-ธ.ค.2554)
ผู้วิจัย เพ็ญจันทร์ สุทธานุกูล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย,สถาบันวิจัยพืชสวน,ศูนย์สารสนเทศ,สํานักวิจัยพัฒนาการเกษตร เขตที่ 6,สํานักวิจัยพัฒนาการเกษตร เขตที่2,ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพร ,ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรยะลา,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเลย,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบุรี,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอยุธยา สถาบันวิจัยพืชสวน |
82 |
3154 |
การคัดเลือกพันธุ์พริกขี้หนูผลสดที่ตอบสนองต่อการปลูกในระบบเกษตรอินทรีย์
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช,ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ,ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเลย ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาญจนบุรี,สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช,สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร,สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธ์ |
46 |
3153 |
การศึกษาระบบ Logistics และการตลาดข้าวโพดหวานในภาคเหนือ
ผู้วิจัย เชาวนาถ พฤทธิเทพ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท,สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร |
49 |
3152 |
การวิจัยและพัฒนาการบริหารจัดการวัสดุอินทรีย์ในนา
ผู้วิจัย นรีลักษณ์ วรรณสาย หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชพิษณุโลก,ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น,สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร,ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท,สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม |
97 |
3147 |
การศึกษาความหลากหลาย และการใช้ประโยชน์ของไม้ผลที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรี จันทบุรี ศรีสะเกษ เชียงใหม่ และตรัง
ผู้วิจัย นายเกษมศักดิ์ ผลากร หน่วยงาน สถาบันวิจัยพืชสวน,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี,ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี,ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ,ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่,ศูนย์วิจัยพืชสวนตรัง |
49 |
3146 |
การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการดินและปุ๋ยในระบบการผลิตแก้วมังกรอินทรีย์
ผู้วิจัย ประไพ ทองระอา หน่วยงาน กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครปฐม |
47 |
3145 |
การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการดินและปุ๋ยในระบบการผลิตฝรั่งอินทรีย์
ผู้วิจัย ภัสชญภณ หมื่นแจ้ง หน่วยงาน กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครปฐม |
48 |
3133 |
การศึกษามวลชีวภาพของพัฒนาการการเจริญเติบโตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ทนทานแล้ง
ผู้วิจัย กฤษณา ทวีศักดิ์วิชิตชัย หน่วยงาน ศูนย์สารสนเทศ,ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ |
65 |
3132 |
การวิจัยและพัฒนาระบบฐานข้อมูลดินเพื่อการสร้างศักยภาพในการผลิตของดินในแหล่งปลูกปาล์มน้ํามัน
ผู้วิจัย จินดารัตน์ ชื่นรุ่ง หน่วยงาน กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
48 |
3131 |
การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์มน้ํามันลูกผสมสุราษฎร์ธานีในภาคเหนือ
ผู้วิจัย เกริกชัย ธนรักษ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยปาล์มน้ํามันสุราษฎร์ธานี,ศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย |
74 |
3130 |
การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์มน้ํามันลูกผสมสุราษฎร์ธานีในพื้นที่ภาคกลาง (จ.ชัยนาท)
ผู้วิจัย ปวีณา ไชยวรรณ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7,ศูนย์วิจัยปาล์มน้ํามันสุราษฎร์ธานี |
52 |
3129 |
การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์มน้ํามันลูกผสมสุราษฎร์ธานีในภาคใต้(จ.กระบี่)
ผู้วิจัย อุษา ชูรักษ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยปาล์มน้ํามันกระบี่ สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร,ศูนย์วิจัยปาล์มน้ํามันสุราษฎร์ธานี สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร |
51 |
3128 |
ศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของพืชไร่พื้นเมืองทางภาคเหนือตอนบน
ผู้วิจัย ปราโมทย์ ไตรบุญ หน่วยงาน สํานักคุ้มครองพันธุ์พืช,สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน |
57 |
3127 |
ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์พืชผักกาดหอม ตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542
ผู้วิจัย ธิดากุญ แสนอุดม หน่วยงาน สํานักคุ้มครองพันธุ์พืช |
61 |
3122 |
ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบพันธุ์มะเขือ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542
ผู้วิจัย ป่าน ปานขาว หน่วยงาน สํานักคุ้มครองพันธุ์พืช |
55 |
3121 |
การผลิตผักใบ พืชตระกูลมะเขือ และพริกแช่แข็ง
ผู้วิจัย ประยูร เอ็นมาก หน่วยงาน กลุ่มวิจัยและพัฒนาการแปรรูปผลิตผลเกษตร สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
49 |
3120 |
การผลิตผักใบ พืชตระกูลมะเขือ และพริกอบแห้ง
ผู้วิจัย จิตติมา วรรณแก้ว หน่วยงาน กลุ่มวิจัยและพัฒนาการแปรรูปผลิตผลเกษตร สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
64 |
3118 |
การกําจัดเพลี้ยไฟบนกะเพรา โหระพา และแมงลักหลังการเก็บเกี่ยว
ผู้วิจัย ใจทิพย์ อุไรชื่น หน่วยงาน กลุ่มวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
68 |
3115 |
การจัดการแมลงหวี่ขาวยาสูบ Bemisia tabasi (Gennadius) บนผักชีฝรั่งหลังการเก็บเกี่ยว
ผู้วิจัย กรรณิการ์ เพ็งคุ้ม หน่วยงาน กลุ่มวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
57 |
3113 |
การจัดการป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟบนมะระจีนและมะระขี้นกหลังการเก็บเกี่ยว
ผู้วิจัย พรรณเพ็ญ ชโยภาส หน่วยงาน กลุ่มวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
54 |
3112 |
การศึกษาชนิดบรรจุภัณฑ์และวิธีการบรรจุเพื่อกําจัดเพลี้ยไฟที่ทําลายมะเขือเปราะหลังการเก็บเกี่ยว โดยไม่ตัดขั้วผล
ผู้วิจัย ภาวินี หนูชนะภัย หน่วยงาน กลุ่มวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
57 |
3111 |
การศึกษาชนิดบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมสําหรับมะเขือเปราะตัดขั้วเพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย อมรา ชินภูติ หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
54 |
3109 |
การกําจัดเพลี้ยไฟบนมะเขือเปราะโดยการตัดขั้วและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารละลายในการป้องกัน การเกิดผลสีน้ําตาล
ผู้วิจัย อมรา ชินภูติ หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
53 |
3106 |
ศึกษาอัตราการใช้เชื้อราเขียว M. anisopliae (Metsch) Sorokin ในการควบคุมหนอนด้วงแรดมะพร้าว
ผู้วิจัย อัมพร วิโนทัย หน่วยงาน สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
55 |
3096 |
ทดสอบและพัฒนาเครื่องขุดมันสําปะหลังให้เหมาะสมกับพื้นที่ในเขตภาคตะวันออก
ผู้วิจัย โสภิตา สมคิด หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4,กลุ่มวิจัยวิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยว สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม,ศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมจันทบุรี สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม |
53 |
3095 |
การทดสอบพัฒนาเทคโนโลยีแบบผสมผสานเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลังในไร่เกษตรกร
ผู้วิจัย นพดล แดงพวง หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปราจีนบุรี,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรระยอง,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรฉะเชิงเทรา |
51 |
3094 |
การทดสอบพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลังในไร่เกษตรกร
ผู้วิจัย นพดล แดงพวง หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรระยอง,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปราจีนบุรี,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรฉะเชิงเทรา |
53 |
3092 |
การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหามันสําปะหลังหัวเน่าในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม
ผู้วิจัย นิพนธ์ ภาชนะวรรณ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมหาสารคาม สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่4 อุบลราชธานี |
53 |
3069 |
การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหามันสําปะหลังหัวเน่า จังหวัดอุบลราชธานี
ผู้วิจัย โสภิตา สมคิด หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 |
63 |
3068 |
การศึกษาวิจัยพืชทางเลือกเพื่อเพิ่มมูลค่าในจังหวัดนราธิวาส
ผู้วิจัย ดาริกา ดาวจันอัด หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรรือเสาะ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนราธิวาส |
61 |
3067 |
จัดเวทีเสวนาเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการดําเนินงาน
ผู้วิจัย นฤทัย วรสถิตย์ หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3,ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรขอนแก่น,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรชัยภูมิ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมุกดาหาร,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอุดรธานี,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรโนนสูง,สํานักคุ้มครองพันธุ์พืช,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรร้อยเอ็ด,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมหาสารคาม,สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน |
54 |
3066 |
ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่และเกษตรกรโครงการต้นแบบการจัดการโรคใบขาวของอ้อยโดยใช้พันธุ์สะอาด
ผู้วิจัย พรศุลี อิศรางกูร ณ อยุธยา หน่วยงาน สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 จังหวัดขอนแก่น |
45 |
3061 |
การผลิตพันธุ์อ้อยสะอาดโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ผู้วิจัย นิลุบล ทวีกุล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ |
49 |
3059 |
การประเมินความต้านทานเพลี้ยแป้งในมันสําปะหลังพันธุ์ดีเด่น
ผู้วิจัย อิสระ พุทธสิมมา หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น |
57 |
3058 |
ศึกษาพัฒนาการ การเจริญเติบโต และค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของมันสําปะหลังพันธุ์ก้าวหน้า
ผู้วิจัย วรยุทธ ศิริชุมพันธ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน |
59 |
3051 |
การปรับปรุงพันธุ์มันสําปะหลังเพื่อบริโภคหัวสด : การเปรียบเทียบเบื้องต้นชุดที่ 1
ผู้วิจัย เมธาพร พุฒขาว หน่วยงาน สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน,ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา |
64 |
3049 |
การประเมินระบบการผลิต การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ และสารพิษตกค้างในกะเพรา โหระพา และสะระแหน่ ส่งออกหลังการเก็บเกี่ยวในจังหวัดนครปฐม
ผู้วิจัย เพทาย กาญจนเกษร หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครปฐม |
48 |
3031 |
การผสมพันธุ์มันสําปะหลัง (ลูกผสมชุดปี 2554)
ผู้วิจัย ยุทธจักร วงษ์วัฒนะ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง,สถาบันวิจัยพืชไร่ |
58 |
3030 |
การใช้ปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมต่อการผลิตแห้วจีน
ผู้วิจัย วาสนา วันดี หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี,ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น |
54 |
3029 |
การใช้สารเคมีป้องกันกําจัดโรคราสนิมที่เหมาะสมต่อการผลิตแห้วจีน
ผู้วิจัย อุดมศักดิ์ ดวนมีสุข หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี |
56 |
3020 |
การทดสอบพันธุ์ถั่วเขียวเพื่อผลผลิตสูงและต้านทานโรคราแป้ง
ผู้วิจัย อารีรัตน์ พระเพชร หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุโขทัย,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบูรณ์ |
60 |
3014 |
การใช้สารเคมีป้องกันกําจัดหนอนกอที่เหมาะสมต่อการผลิตแห้วจีน
ผู้วิจัย ผุด จันทร์สุขโข หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี,ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น |
55 |
3013 |
ศึกษาและพัฒนาแนวทางการจัดรูปที่ดินให้เหมาะสมต่อการใช้เครื่องเก็บเกี่ยวอ้อย
ผู้วิจัย สันธาร นาควัฒนานุกูล หน่วยงาน กลุ่มทดสอบและพัฒนาเครื่องจักรกลเกษตร สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม |
64 |
3012 |
ศึกษาสภาพการใช้เครื่องเก็บเกี่ยวอ้อยในประเทศไทย
ผู้วิจัย วิชัย โอภานุกุล หน่วยงาน สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม |
60 |
3011 |
การสํารวจและการเฝ้าระวังศัตรูพืช สารพิษตกค้าง และเชื้อจุลินทรีย์ในพืชผักที่ได้รับการรับรอง แหล่งผลิตพืช (GAP) ในเขตภาคเหนือตอนบน ซึ่งเป็นพืชเป้าหมายส่งยุโรป
ผู้วิจัย ลาภิสรา วงศ์แก้ว หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ |
59 |
3010 |
ผลของสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงต่อดัชนีการเก็บเกี่ยวของมะม่วงน้ําดอกไม้เพื่อการส่งออกในสภาพพื้นที่ จังหวัดเชียงใหม่
ผู้วิจัย ศิริพร พจนการุณ หน่วยงาน กลุ่มวิชาการ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 |
57 |
3003 |
การใช้พืชตระกูลกะหล่ําเป็นสารรมทางชีวภาพเพื่อควบคุมแบคทีเรียสาเหตุโรคเหี่ยวของขิง ในสภาพโรงเรือนและแปลงปลูก
ผู้วิจัย สุรชาติ คูอาริยะกุล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 1 เชียงใหม่ |
62 |
3002 |
การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกําจัดโรคหอมเลื้อย ในหอมแบ่งโดยวิธีผสมผสาน จังหวัดร้อยเอ็ด
ผู้วิจัย นาฏญา โสภา หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรร้อยเอ็ด |
56 |
3001 |
การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกําจัดโรคหอมเลื้อยในหอมแดงโดยวิธีผสมผสาน จังหวัดบุรีรัมย์
ผู้วิจัย นงลักษณ์ จีนกูล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรบุรีรัมย์ |
59 |
2986 |
สํารวจและศึกษาโรคในกาแฟโรบัสต้าสายพันธุ์เข้า
ผู้วิจัย ยุพิน กสินเกษมพงษ์ หน่วยงาน กลุ่มวิชาการ สถาบันวิจัยพืชสวน,ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพร |
54 |
2984 |
การจัดการมอดกาแฟแบบผสมผสาน
ผู้วิจัย ยุพิน กสินเกษมพงษ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพร สถาบันวิจัยพืชสวน,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเชียงใหม่ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่1,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเชียงราย สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่1,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบูรณ์ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่2 |
67 |
2981 |
ผลของการตัดแต่งทรงต้นระบบกิ่งหลักเดี่ยวและระดับการให้ปริมาณธาตุอาหารต่อการให้ผลผลิตของ กาแฟโรบัสต้า
ผู้วิจัย สุรีรัตน์ ปัญญาโตนะ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพร |
55 |
2979 |
ศึกษาการสะสมน้ําตาลของอ้อย RT2001-1800 , RT2002-803 และ LK92-11 ในช่วงอายุและเดือนเก็บ เกี่ยวต่างกัน
ผู้วิจัย ประชา ถ้ําทอง หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี,ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น |
50 |
2977 |
ศึกษาปริมาณแป้งในพันธุ์รับรอง พันธุ์แนะนําและโคลนดีเด่น
ผู้วิจัย กนกทิพย์ เลิศประเสริฐรัตน์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี |
59 |
2954 |
การปรับปรุงพันธุุ์อ้อยที่เหมาะสมในเขตน้ําฝน (การคัดเลือกครั้งที่ 1 ชุดปี 2553: ในเขตใช้น้ําฝน)
ผู้วิจัย เลิศ ประเสริฐรัตน์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น |
61 |
2952 |
การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์อ้อยชุดปี 2546-1 เพื่อผลผลิตและคุณภาพ : อ้อยตอ 1 (เก็บเกี่ยว)
ผู้วิจัย วัลลิภา สุชาโต หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี,ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น |
65 |
2951 |
การเปรียบเทียบมาตรฐานอ้อยชุด 2547 ตอ 2 เก็บเกี่ยว
ผู้วิจัย เสรีวัฒน์ จัตตุพรพงษ์,ปริญญา สีบุญเรือง หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ |
61 |
2950 |
ศึกษาคุณภาพวัตถุอันตรายทางการเกษตรจากแหล่งจําหน่ายในเขตภาคเหนือตอนบน
ผู้วิจัย นงพงา โอลเสน หน่วยงาน กลุ่มพัฒนาการตรวจสอบพืชและปัจจัยการผลิต สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 1,กลุ่มควบคุมตามพระราชบัญญัติ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 1 |
59 |
2949 |
การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร: โคลนอ้อยระหว่างศูนย์ปี 2550
ผู้วิจัย วีระพล พลรักดี หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา |
62 |
2944 |
การเปรียบเทียบมาตรฐาน: โคลนอ้อยดีเด่นระหว่างศูนย์ปี 2552
ผู้วิจัย วีระพล พลรักดี หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรร้อยเอ็ด,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมุกดาหาร,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเลย |
53 |
2943 |
เปรียบเทียบพันธุ์ถั่วเขียวผิวมันที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดแพร่
ผู้วิจัย มณทิรา ภูติวรนาถ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่ |
52 |
2942 |
วิจัยและพัฒนาขนาดของโรงเรือนเปิดดอกเห็ดนางรม
ผู้วิจัย วิโรจน์ โหราศาสตร์ หน่วยงาน สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม,สํานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ |
53 |
2940 |
การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตสะระแหน่ในสารละลายปุ๋ยให้ปลอดภัยจากเชื้ออีโคไลและเชื้อซัลโมเนลลา
ผู้วิจัย อรัญญา ภู่วิไล หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 |
64 |
2927 |
การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตผักชีฝรั่งโดยวิธี IPM ให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างและแมลงศัตรูพืชใน ผลผลิตสด จังหวัดนครปฐม
ผู้วิจัย ศิริจันทร์ อินทร์น้อย หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครปฐม,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 |
60 |
2926 |
การทดสอบเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยว และการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวกะเพรา ให้ปลอดภัย จากเชื้อ E.coli, เชื้อ Salmonella ในจังหวัดปทุมธานี
ผู้วิจัย กุลวดี ฐาน์กาญจน์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปทุมธานี |
64 |
2925 |
การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตกะเพราโดยวิธี IPM ให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง และแมลงศัตรูพืชในผลผลิตสด จังหวัดปทุมธานี
ผู้วิจัย กุลวดี ฐาน์กาญจน์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปทุมธานี |
59 |
2919 |
การทดสอบเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยว และการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวโหระพา ให้ปลอดภัยจากเชื้อ E. coli , เชื้อ Salmonella ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ผู้วิจัย นายนพพร ศิริพานิช หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอุทัยธานี |
62 |
2916 |
การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตโหระพาโดยวิธี IPM ให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง และแมลงศัตรูพืชในผลผลิตสด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ผู้วิจัย นายนพพร ศิริพานิช หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอุทัยธานี |
58 |
2909 |
การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกําจัดโรคต้นโทรมและใบจุดของผักพายในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์
ผู้วิจัย มัตติกา ทองรส หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุรินทร์,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 |
57 |
2905 |
การควบคุมเสี้ยนดินโดยใช้ไส้เดือนฝอยในระบบการผลิตมันแกวจังหวัดมหาสารคาม
ผู้วิจัย อนุชา เหลาเคน หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมหาสารคาม,สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช,สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 |
57 |
2901 |
เทคโนโลยีการปลูกข้าวโพดเทียนหลังน้ําลดในเขตพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา
ผู้วิจัย พีชณิตดา ธารานุกูล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรโนนสูงอําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา |
56 |
2899 |
วิจัยและพัฒนาระบบการปลูกพืชหลังน้ําลดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
ผู้วิจัย สมชาย เชื้อจีน หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอํานาจเจริญ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรโนนสูง |
58 |
2897 |
โครงการต้นแบบการจัดทําแปลงและเตรียมท่อนพันธุ์อ้อยคุณภาพดีโดยใช้ระบบน้ำหยด
ผู้วิจัย อนุชา เหลาเคน หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมหาสารคาม,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรร้อยเอ็ด |
59 |
2892 |
การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร : พันธุ์ถั่วลิสงฝักต้ม
ผู้วิจัย สมจินตนา ทุมแสน หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น,ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท,ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่,ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ |
68 |
2870 |
การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกันกําจัดเพลี้ยแป้งมันสําปะหลังในพื้นที่ภาคตะวันออก
ผู้วิจัย นพดล แดงพวง หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6,สถาบันวิจัยพืชไร่,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปราจีนบุรี,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรระยอง |
65 |
2869 |
การศึกษาความสัมพันธ์ของเพลี้ยแป้งมันสําปะหลังแต่ละชนิดกับพันธุ์มันสําปะหลังในพื้นที่ สวพ. 2
ผู้วิจัย ธํารง ช่วยเจริญ หน่วยงาน กลุ่มวิชาการ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2,สถาบันวิจัยพืชไรj |
60 |
2868 |
การทดสอบเทคโนโลยีการควบคุมและป้องกันกําจัดเพลี้ยแป้งมันสําปะหลังในพื้นที่สํานักวิจัยและพัฒนาการ เกษตรเขตที่ 5
ผู้วิจัย จันทนา ใจจิตร หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 จังหวัดชัยนาท,สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน |
58 |
2867 |
การทดสอบเทคโนโลยีการควบคุมและป้องกันกําจัดเพลี้ยแป้งมันสําปะหลังในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี
ผู้วิจัย บุญชู สายธน หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 ตู้ ปณ 79 อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ 045-202-190 |
68 |
2866 |
การทดสอบพันธุ์ที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสําปะหลังหลังนา จังหวัดอํานาจเจริญ
ผู้วิจัย นิรมล ดําพะธิก หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอํานาจเจริญ 172 หมู่ที่ 3 ตําบลโนนโพธิ์ อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ 37000 |
61 |
2863 |
การทดสอบพันธุ์ที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสําปะหลังหลังนาพื้นที่จังหวัดสุรินทร์
ผู้วิจัย มัตติกา ทองรส หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุรินทร์ อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 |
68 |
2861 |
การทดสอบเทคโนโลยีการควบคุมและป้องกันกําจัดเพลี้ยแปลงมันสําปะหลังในพื้นที่ สวพ. 3
ผู้วิจัย บุญช่วย สงฆนาม หน่วยงาน สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 จ.ขอนแก่น ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรชัยภูมิ อ. เมือง จ. ชัยภูมิ,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมุกดาหาร อ.เมือง จ. มุกดาหาร,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสกลนคร อ. เมือง จ. สกลนคร,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอุดรธานี อ.กุดจับ จ. อุดรธานี |
63 |
2853 |
จัดการปุ๋ยที่เหมาะสมตอการปลูกมันสําปะหลังหลังนาจังหวัดศรีสะเกษ
ผู้วิจัย สุนทรี มีเพ็ชร หน่วยงาน ศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ |
58 |
1406 |
ชนิดของแมลงหายากและใกล้สูญพันธุ์ ในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย
ผู้วิจัย ชฎาภรณ์ เฉลิมวิเชียรพร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
93 |
1405 |
สำรวจและจำแนกชนิดของเพลี้ยแป้ง และแมลงศัตรูน้อยหน่าในเขตพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา
ผู้วิจัย ชมัยพร บัวมาศ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา |
80 |
1404 |
อนุกรมวิธานเพลี้ยหอยสกุล Pulvinaria
ผู้วิจัย ชมัยพร บัวมาศ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
79 |
1403 |
ชนิดของมดที่อาศัยร่วมกับเพลี้ยแป้งสกุล Phenacoccus
ผู้วิจัย ชมัยพร บัวมาศ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
73 |
1402 |
ความหลากชนิดของมดในพื้นที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรตากและป่าธรรมชาติของจังหวัดตาก
ผู้วิจัย ชมัยพร บัวมาศ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1401 |
อนุกรมวิธานของเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ผู้วิจัย ชลิดา อุณหวุฒิ หน่วยงาน สำานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
77 |
1400 |
อนุกรมวิธานเพลี้ยแป้งสกุล Phenacoccus
ผู้วิจัย ชลิดา อุณหวุฒิ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
90 |
1399 |
อนุกรมวิธานและชีววิทยาเพลี้ยแป้ง Pseudococcus jackbeardsleyi Gimpel & Miller
ผู้วิจัย ชลิดา อุณหวุฒิ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1398 |
ชนิดของศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์พริกนำเข้าจากต่างประเทศ
ผู้วิจัย ชลธิชา รักใคร่ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
94 |
1397 |
วิธีกำจัดแมลงด้วยความร้อนสำหรับกำจัดแมลงวันผลไม้ในผลลำไยเพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย ชัยณรัตน์ สนศิริ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1396 |
โรคขั้วหวีเน่าของกล้วยหอมทองและการควบคุมโดยใช้สารปลอดภัย
ผู้วิจัย บุญญวดี จิระวุฒิ หน่วยงาน สำนักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
103 |
1395 |
ศึกษาชนิดและการป้องกันกำจัดแมลงกำจัดศัตรูสำคัญในไม้ประดับสกุล Euphorbia
ผู้วิจัย บุษบง มนัสมั่นคง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1394 |
การเฝ้าระวังการแพร่กระจายของหนอนเจาะผล, Cryptophlebia ombrodelta (Lower) ในลิ้นจี่
ผู้วิจัย บุษบง มนัสมั่นคง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
79 |
1393 |
การทดสอบประสิทธิภาพ Bacillus subtilis ในการควบคุมโรคใบจุดคะน้าสาเหตุจากเชื้อรา Alternaria brassicicola
ผู้วิจัย บุษราคัม อุดมศักดิ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
82 |
1392 |
การคัดเลือกและทดสอบสายพันธุ์ Bacillus ที่มีศักยภาพในการควบคุมเชื้อรา Phytophthora parasitica
ผู้วิจัย บุษราคัม อุดมศักดิ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
76 |
1391 |
การจัดการโรคเหี่ยวของขิงที่เกิดจากแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum แบบผสมผสาน
ผู้วิจัย บูรณี พั่ววงษ์แพทย์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสถาบันวิจัยพืชสวน |
87 |
1390 |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ Bacillus subtilis สายพันธุ์ DOA-WB4 แบบผงเพื่อควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียของมันฝรั่ง
ผู้วิจัย บูรณี พั่วงษ์แพทย์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1389 |
การควบคุมโรคลำต้นเน่าของปาล์มน้ำมันโดยชีววิธี
ผู้วิจัย ชนินทร ดวงสอาด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1388 |
การคัดเลือกเชื้อราเอ็นโดไฟท์เชื้อที่มีศักยภาพในการยับยั้งเชื้อรา Sclerotium rolfsii
ผู้วิจัย ชนินทร ดวงสอาด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 |
87 |
1387 |
การเฝ้าระวังการแพร่กระจายของราน้ำค้างข้าวโพด Peronosclerospora philippinensis
ผู้วิจัย ชนินทร ดวงสอาด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
81 |
1386 |
อนุกรมวิธานและชีววิทยาของรา Cladosporium สาเหตุโรค
ผู้วิจัย ชนินทร ดวงสอาด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
94 |
1385 |
การศึกษาชนิดราไมโคไรซากล้วยไม้ใกล้สูญพันธุ์และการใช้ประโยชน์ราในการเพาะเมล็ดกล้วยไม้
ผู้วิจัย พรพิมล อธิปัญญาคม หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสถาบันวิจัยพืชสวน |
87 |
1384 |
การจัดการโรคมะเม่า
ผู้วิจัย พรพิมล อธิปัญญาคม หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
83 |
1383 |
การศึกษาชนิดของโรคพืชเพื่อการส่งออก (มะละกอและมะพร้าวน้ำหอม) และพืชนำเข้า (ปาล์มน้ำมันและหัวพันธุ์ไม้ดอก)
ผู้วิจัย พรพิมล อธิปัญญาคม หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
79 |
1382 |
การเฝ้าระวังการแพร่กระจายของราเขม่าดำ Urocystis cepulae ในพื้นที่ปลูกหอมแดง และกระเทียมเพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย พรพิมล อธิปัญญาคม หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
90 |
1381 |
การจำแนกชนิดของราสกุล Botryosphaeria สาเหตุโรคพืชโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะทางพันธุกรรม
ผู้วิจัย พรพิมล อธิปัญญาคม หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1380 |
การจำแนกชนิดของราสกุล Colletotrichum สาเหตุโรคพืชโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะทางพันธุกรรม
ผู้วิจัย พรพิมล อธิปัญญาคม หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
97 |
1379 |
การใช้สารสกัดจากธรรมชาติในการควบคุมเพลี้ยแป้งน้อยหน่าในเขตพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา
ผู้วิจัย พวงผกา อ่างมณี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1378 |
การคัดเลือกสารป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้ง Ferrissia virgata (Cockerell)
ผู้วิจัย พวงผกา อ่างมณี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
81 |
1377 |
การทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูสำคัญในสะระแหน่
ผู้วิจัย พวงผกา อ่างมณี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1376 |
ผลของระบบกรีดต่อการเปลี่ยนแปลงคาร์โบไฮเดรตในยางพารา
ผู้วิจัย พิศมัย จันทุมา หน่วยงาน ศูนย์วิจัยยางฉะเชิงเทรา และศูนย์วิจัยยางสุราษฏร์ธานี |
93 |
1375 |
ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดไรศัตรูสำคัญในมันสำปะหลัง
ผู้วิจัย พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
82 |
1374 |
การป้องกันกำจัดไรไข่ปลาบนเห็ดหูหนูโดยการใช้สารสกัดจากพืช
ผู้วิจัย พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
81 |
1373 |
การคัดเลือกสารฆ่าไรบางชนิดในการป้องกันกำจัดไรแดงแอฟริกัน Eutetranychus africanus (Tucker) ในแปลงทดสอบ
ผู้วิจัย พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1372 |
การคัดเลือกสารฆ่าไรในการป้องกันกำจัดไรแดงในแปลงทดสอบ
ผู้วิจัย พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1371 |
การเฝ้าระวังไรแดง Amphitetranychus viennensis (Zacher) ศัตรูพืชกักกันของแอปเปิ้ล
ผู้วิจัย พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1370 |
ลักษณะอาการ สาเหตุ และการแพร่ระบาดของโรคผลเน่าชมพู่
ผู้วิจัย พจนา ตระกูลสุขรัตน์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
78 |
1369 |
การคัดเลือกเชื้อรา Oudemansiella spp. ที่มีศักยภาพในการควบคุมเชื้อราสกุล Colletotrichum spp. สาเหตุโรคพืช
ผู้วิจัย พจนา ตระกูลสุขรัตน์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ |
84 |
1368 |
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างหวานให้ต้านทานโรคลำต้นเน่าดำ : การผสมพันธุ์
ผู้วิจัย พจนา ตระกูลสุขุขรัตน์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, สถาบันวิจัยพืชไร่ และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพุพรรณบุรี |
82 |
1367 |
การป้องกันกำจัดโรคดอกจุดสนิมของกล้วยไม้ที่มีสาเหตุจากเชื้อ Curvularia sp.โดยใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์และสารเคมี
ผู้วิจัย พีระวรรณ พัฒนวิภาส หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
81 |
1366 |
การคัดเลือกแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมเชื้อรา Rhizoctonia solani
ผู้วิจัย พีระวรรณ พัฒนวิภาส หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ และศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ |
83 |
1365 |
การศึกษาประสิทธิภาพของสารที่ป้องกันกำจัดโรคพืชในการป้องกันกำจัดเชื้อรา Rhizoctonia solani สาเหตุโรคพืช
ผู้วิจัย พีระวรรณ พัฒนวิภาส หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ และศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ |
83 |
1364 |
โครงการพัฒนาและสร้างมาตรฐานห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ปุ๋ย กรมวิชาการเกษตร
ผู้วิจัย หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1-8 กรมวิชาการเกษตร |
282 |
1363 |
ศึกษาความเป็นพิษของมะกล่ำตาหนูและกากเมล็ดชาเพื่อใช้เป็นสารกำจัดหนู
ผู้วิจัย กรแก้ว เสือสะอาด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
87 |
1362 |
การจัดทำมาตรฐานการประเมินไม้ยางพาราระดับแปลงเกษตรกร เพื่อนำสู่ระบบซื้อขายผ่านตลาดกลางไม้ยางพารา
ผู้วิจัย กฤษดา สังข์สิงห์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยยางสุราษฎร์ธานี, สำนักงานตลาดกลางยางพาราสุราษฎร์ธานี และสถาบันวิจัยยาง |
95 |
1361 |
ศูนย์ต้นแบบการวิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชพิษณุโลก
ผู้วิจัย กัลยา เนตรกัลยามิตร หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชพิษณุโลก, สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน, ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่, ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 |
97 |
1360 |
การคัดเลือกพันธุ์ถั่วเขียวเพื่อต้านทานโรคไวรัสใบด่างเหลืองโดยใช้เทคนิคอณูชีววิทยา
ผู้วิจัย กาญจนา วาระวิชะนี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนยวิจัยพืชไร่ชัยนาท |
84 |
1359 |
การตรวจสอบเชื้อไฟโตพลาสมาสาเหตุโรคพุ่มแจของมันสำปะหลังโดยเทคนิคทางอณูชีววิทยา
ผู้วิจัย กาญจนา วาระวิชะนี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1358 |
พัฒนาเทคนิคการตรวจสอบเชื้อไฟโตพลาสมาเชื้อสาเหตุโรคใบขาวอ้อยด้วยกรดนิวคลีอิกตัวตรวจ
ผู้วิจัย กาญจนา วาระวิชะนี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1357 |
ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสม พันธุ์ชัยนาท 84-1
ผู้วิจัย กิตติภพ วายุภาพ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3, ศูนย์วิจัยพืชไร่สงขลา, ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น, สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 |
90 |
1356 |
การพัฒนาระบบตรวจสอบห้องปฏิบัติการเอกชนเพื่อการออกใบรับรองคุณภาพสินค้าเกษตร
ผู้วิจัย กุลวิไล สุทธิลักษณวนิช หน่วยงาน สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช |
87 |
1355 |
ชีววิทยาของโปรโตซัวที่เข้าทำลายระบบการเลี้ยงหนอนกระทู้ผักเพื่อผลิตไวรัส Nucleopolyhedrovirus และการควบคุม
ผู้วิจัย ภัทรพร สรรพนุเคราะห์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
94 |
1354 |
การจำแนกสายพันธุ์ Bacillus thuringiensis ที่พบในประเทศไทยโดยเทคนิค PCR
ผู้วิจัย ภัทรพร สรรพนุเคราะห์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
77 |
1353 |
วิธีกำจัดแมลงด้วยความร้อนสำหรับกำจัดแมลงวันผลไม้ในผลมะละกอเพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย มลนิภา ศรีมีมาตรภิรมย์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1352 |
การใช้และอนุรักษ์ไรตัวห้ำ Amblyseius cinctus เพื่อควบคุมไรแมงมุมเทียมกล้วยไม้ Tenuipalpus pacificus
ผู้วิจัย มานิตา คงชื่นสิน หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
92 |
1351 |
การผลิตและการใช้ไรตัวห้ำ, Amblyseius spp. ควบคุมเพลี้ยไฟ
ผู้วิจัย มานิตา คงชื่นสิน หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1350 |
การพัฒนาโรงรมควันของสถาบันเกษตรกรเข้าสู่ระบบมาตรฐาน GMP
ผู้วิจัย มณิสร อนันต๊ะ หน่วยงาน สำนักงานตลาดกลางยางพาราสงขลา และศูนย์วิจัยยางสงขลา |
84 |
1349 |
สำรวจและประเมินความเสียหายที่เกิดจากโรครากปมของปทุมมาและกระเจียว
ผู้วิจัย มนตรี เอี่ยมวิมังสา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1348 |
การคัดเลือกต้นตอที่ต้านทานหรือทนทานต่อโรคเหี่ยวและโรครากปมของฝรั่ง
ผู้วิจัย มนตรี เอี่ยมวิมังสา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรนครปฐม |
94 |
1347 |
วิธีการที่เหมาะสมในการป้องกันกำจัดไส้เดือนฝอยศัตรูมันขี้หนู
ผู้วิจัย มนตรี เอี่ยมวิมังสา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
79 |
1346 |
อนุกรมวิธานแมลงวันผลไม้ทองสกุล Bactrocera จากสารล่อแมลงในเขตภาคใต้ของประเทศไทย
ผู้วิจัย ยุวรินทร์ บุญทบ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
103 |
1345 |
อนุกรมวิธานแมลงวันผลไม้สกุล Dacus
ผู้วิจัย ยุวรินทร์ บุญทบ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1344 |
ความหลากชนิดของหิ่งห้อยในเขตภาคใต้ของประเทศไทย
ผู้วิจัย ยุวรินทร์ บุญทบ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
90 |
1343 |
การผลิตและการรักษาสปอร์โรซีสต์ของค๊อคซิเดียนโปรโตซัว S. singaporensis เพื่อใช้เป็นหัวเชื้อในการผลิตสารชีวินทรีย์กำจัดหนู
ผู้วิจัย ยุวลักษณ์ ขอประเสริฐ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1342 |
ชนิดและชีววิทยาของเชื้อสาเหตุโรคผลเน่าของสละ
ผู้วิจัย ยุทธศักดิ์ เจียมไชยศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 |
96 |
1341 |
การศึกษาประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดโรคพืชในการป้องกันกำจัดเชื้อรา Alternaria สาเหตุโรคพืช
ผู้วิจัย ยุทธศักดิ์ เจียมไชยศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1340 |
การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูสำคัญในผักชีเพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย ยุทธนา แสงโชติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1339 |
การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดศัตรูที่สำคัญในไม้ประดับสกุล Hoya
ผู้วิจัย ยุทธนา แสงโชติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1338 |
กำจัดแมลงด้วยความร้อนสำหรับกำจัดแมลงวันทองในผลแก้วมังกรเพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย รัชฎา อินทรกำแหง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
80 |
1337 |
กำจัดแมลงด้วยความร้อนสำหรับกำจัดแมลงวันทองในผลลองกองเพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย รัชฎา อินทรกำแหง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
83 |
1336 |
การใช้มวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor Dohrn. ควบคุมแมลงศัตรูพืชในหน่อไม้ฝรั่ง
ผู้วิจัย รัตนา นชะพงษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
80 |
1335 |
พัฒนาการผลิตมวนเพชฌฆาต
ผู้วิจัย รัตนา นชะพงษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1334 |
ผลกระทบของสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่มีต่อมวนเพชฌฆาตในสภาพห้องปฏิบัติการและสภาพกึ่งแปลงทดสอบ
ผู้วิจัย รัตนา นชะพงษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1333 |
ชนิดของพืชกับดักและพืชอาศัยของแมลงที่มีประโยชน์ในระบบการปลูกพืชผักอินทรีย์ภาคกลาง
ผู้วิจัย รจนา ไวยเจริญ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
94 |
1332 |
รูปแบบการป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสานในระบบการผลิตพืชผักอินทรีย์ภาคกลาง
ผู้วิจัย รจนา ไวยเจริญ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1331 |
เทคโนโลยีการผลิตขยายและการใช้แตนเบียน Encarsia sp. เพื่อควบคุมแมลงหวี่ขาว
ผู้วิจัย รจนา ไวยเจริญ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1330 |
ทดสอบผลของสารป้องกันกำจัดศัตรูอ้อยต่อแตนเบียนไข่ Trichogramma confusum
ผู้วิจัย รจนา ไวยเจริญ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
83 |
1329 |
อนุกรมวิธานของเพลี้ยอ่อนวงศ์ย่อย Hormaphidinae
ผู้วิจัย ลักขณา บำรุงศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
83 |
1328 |
อนุกรมวิธานของเพลี้ยอ่อนเผ่า Macrosophini
ผู้วิจัย ลักขณา บำรุงศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
71 |
1327 |
ความหลากชนิดของแมลงหายากและใกล้สูญพันธ์ในเขตสงวนชีวมณฑลสะแกราช
ผู้วิจัย ลักขณา บำรุงศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1326 |
การศึกษาชนิดแมลง/ไร/สัตว์ศัตรูพืช พืชส่งออกได้แก่ มะละกอ และมะพร้าวน้ำหอม พืชนำเข้าได้แก่ ปาล์มน้ำมัน และหัวพันธุ์ไม้ดอก
ผู้วิจัย ลักขณา บำรุงศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
79 |
1325 |
ประสิทธิภาพของหัวฉีดชนิดต่างๆ ประกอบเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบใช้แรงลมในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟศัตรูพริก
ผู้วิจัย วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1324 |
การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของผลมะม่วงสดนำเข้าจากสาธารณรัฐอินเดีย
ผู้วิจัย วรัญญา มาลี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1323 |
การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของผลพลับสดนำเข้าจากออสเตรเลีย
ผู้วิจัย วรัญญา มาลี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
83 |
1322 |
การจำแนกข้อมูลด้วยดาวเทียมและระดับการให้ผลผลิตของมันสำปะหลังในจังหวัดกำแพงเพชร
ผู้วิจัย วลัยพร ศะศิประภา หน่วยงาน ศูนย์สารสนเทศ |
158 |
1321 |
การหาค่าสัมประสิทธ์ทางพันธุกรรมของแบบจำลอง CSM-CROPGRO-Soybean Model สำหรับถั่วเหลืองพันธุ์เชียงใหม่ 60
ผู้วิจัย วลัยพร ศะศิประภา หน่วยงาน ศูนย์สารสนเทศ |
95 |
1320 |
การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของผลพลัมสดนำเข้าจากสหรัฐอเมริกา
ผู้วิจัย วลัยกร รัตนเดชากุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1319 |
การบริหารจัดการโรคเหี่ยวสับปะรด
ผู้วิจัย วันเพ็ญ ศรีทองชัย หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบุรี และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 |
86 |
1318 |
การศึกษาชนิดของศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับเมล็ดวงศ์แตงที่นำเข้าจากต่างประเทศ (เมล็ดพันธุ์แตงกวา)
ผู้วิจัย วันเพ็ญ ศรีชาติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1317 |
ความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของไวรัส Pineapple mealybug wilt-associated virus กับชนิดของเพลี้ยแป้งในการก่อให้เเกิดโรคเหี่ยวในสับปะรด
ผู้วิจัย วันเพ็ญ ศรีทองชัย หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
80 |
1316 |
การผลิตแอนติซีรัมของไวรัส Pineapple mealybug wilt-associated virus-1 สาเหตุโรคเหี่ยวสับปะรดโดยใช้ระบบเซลล์แบคทีเรีย
ผู้วิจัย วันเพ็ญ ศรีทองชัย หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
85 |
1315 |
การตรวจสอบไวรัส Pineapple mealybug wilt-associated virus-1 และ -2 สาเหตุโรคเหี่ยวสับปะรดโดยเทคนิค multiplex PCR
ผู้วิจัย วันเพ็ญ ศรีทองชัย หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1314 |
การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของเมล็ดพันธุ์พริกนำเข้าจากอินโดนีเซีย
ผู้วิจัย วาสนา ฤทธิ์ไธสง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
91 |
1313 |
การศึกษาชนิดศัตรูพืชที่ติดมากับหัวพันธุ์ทิวลิปนำเข้าจากต่างประเทศ
ผู้วิจัย วานิช คำพานิช หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย |
126 |
1312 |
การพัฒนายางตีนตะขาบเครื่องเกี่ยวนวด
ผู้วิจัย วิชัย โอภานุกุล หน่วยงาน สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม และสถาบันวิจัยยาง |
88 |
1311 |
เทคโนโลยีการป้องกันกำจัดแมลงวันผลไม้ในพริกโดยวิธีผสมผสาน
ผู้วิจัย วิภาดา ปลอดครบุรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
88 |
1310 |
การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูสำคัญในมะเม่า
ผู้วิจัย วิภาดา ปลอดครบุรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1309 |
การคัดเลือกของสารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูสำคัญในผักแพวและผักแขยง
ผู้วิจัย วิภาดา ปลอดครบุรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
93 |
1308 |
การคัดเลือกสารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูสำคัญในไม้ประดับสกุล Plumeria เพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย วิภาดา ปลอดครบุรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
90 |
1307 |
การศึกษาผลกระทบของสารฆ่าแมลงต่อประชากรแมงมุมตัวห้ำ
ผู้วิจัย วิมลวรรณ โชติวงศ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
80 |
1306 |
การศึกษาอนุกรมวิธานแมงมุมสกุล Argiope
ผู้วิจัย วิมลวรรณ โชติวงศ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
81 |
1305 |
เทคนิคการผลิตขยายไส้เเดือนฝอยศัตรูแมลง Steinernema riobrave
ผู้วิจัย วิไลวรรณ เวชยันต์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
77 |
1304 |
ประสิทธิภาพของไส้เดือนฝอย Steinernema riobrave ในการควบคุมด้วงหมัดผัก
ผู้วิจัย วิไลวรรณ เวชยันต์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
78 |
1303 |
เชื้อพันธุ์อ้อยป่า (พง) ในประเทศไทยและการใช้ประโยชน์
ผู้วิจัย วีระพล พลรักดี หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น และ Japan International Research Center for Agricultural Sciences |
90 |
1302 |
การศึกษาชนิด ชีววิทยา และนิเวศวิทยาของแมลงศัตรูในสละ
ผู้วิจัย วนาพร วงษ์นิคง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
82 |
1301 |
การศึกษาชนิดและทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพรรณไม้น้ำ
ผู้วิจัย วนาพร วงษ์นิคง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1300 |
ชีววิทยาและนิเวศวิทยาของสาบม่วง (Praxelis); Praxelis clematidea R.M King & H. Rob.
ผู้วิจัย วนิดา ธารธวิล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
92 |
1299 |
การคัดเลือกสารป้องกันกำจัดเพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
ผู้วิจัย ศรุต สุทธิอารมณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
94 |
1298 |
การศึกษาชนิดและทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูสำคัญในชะพลู
ผู้วิจัย ศรุต สุทธิอารมณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
79 |
1297 |
การบริการตรวจสอบโรคและศัตรูพืชในแปลงปลูกของเกษตรกรที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ลูกผสมและรับรองการปลอดศัตรูพืชเพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย ศรีวิเศษ เกษสังข์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
80 |
1296 |
การศึกษาชนิดศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพืชวงศ์กะหล่ำที่นำเข้าจากต่างประเทศ
ผู้วิจัย ศรีวิเศษ เกษสังข์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
95 |
1295 |
การศึกษาชนิดศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์มะเขือยาวนำเข้าจากต่างประเทศ
ผู้วิจัย ศรีวิเศษ เกษสังข์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
82 |
1294 |
การศึกษาชนิดของศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ถั่วฝักยาวที่นำเข้าจากต่างประเทศ
ผู้วิจัย ศรีวิเศษ เกษสังข์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1293 |
การคัดเลือกและทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีควบคุมโรคกล้วยไม้สกุลแวนดาที่เกิดจากแบคทีเรีย
ผู้วิจัย ศรีสุข พูนผลกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ |
90 |
1292 |
ประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดเชื้อราต่อเชื้อโรคกาบฝักเน่าของข้าวโพด
ผู้วิจัย ศรีสุข พูนผลกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
91 |
1291 |
การเฝ้าระวังการแพร่กระจายของเพลี้ยแป้ง Cataenococcus hispidus Green และ Planococcus litchi Cox ในลิ้นจี่
ผู้วิจัย ศรีจำนรรจ์ ศรีจันทรา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
73 |
1290 |
การเฝ้าระวังการแพร่กระจายของเพลี้ยไก่แจ้ (Trioza erytreae (Del Guercio)) ในแหล่งปลูกส้มจังหวัดเชียงใหม่
ผู้วิจัย ศรีจำนรรจ์ ศรีจันทรา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเชียงใหม่ |
87 |
1289 |
การพัฒนาระบบการผลิตและเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตสับปะรด
ผู้วิจัย ศรีนวล สุราษฎร์ หน่วยงาน สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 |
109 |
1288 |
การศึกษาชนิดของวัชพืชของพืชส่งออก (มะละกอ และมะพร้าวน้ำหอม) และพืชนำเข้า (ปาล์มน้ำมัน และหัวพันธุ์ไม้)
ผู้วิจัย ศิริพร ซึงสนธิพร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 |
74 |
1287 |
ชีววิทยาและการแพร่กระจายของวัชพืชสกุลผักแว่น (Marsilea) และศักยภาพการเป็นวัชพืชของผักแว่นต่างถิ่น
ผู้วิจัย ศิริพร ซึงสนธิพร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1286 |
ชีววิทยาและการแพร่ระบาดของหญ้าอีหนาว; Digera muricata (L.) Mart.
ผู้วิจัย ศิริพร ซึงสนธิพร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
81 |
1285 |
สัณฐานวิทยาของเมล็ดวัชพืชวงศ์ผักโขม Amaranthaceae
ผู้วิจัย ศิริพร ซึงสนธิพร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักคุ้มครองพันธุ์พืช |
97 |
1284 |
สำรวจ รวบรวม พรรณไม้น้ำเพื่อการปกป้องไม้ท้องถิ่น
ผู้วิจัย ศิริพร ซึงสนธิพร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1283 |
สัณฐานวิทยาของเมล็ดพืชสกุลกก (Cyperus)
ผู้วิจัย ศิริพร ซึงสนธิพร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
90 |
1282 |
สถานการณ์เฝ้าระวังและควบคุมจอกหูหนูยักษ์ - ศัตรูพืชกักกัน
ผู้วิจัย ศิริพร ซึงสนธิพร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร |
90 |
1281 |
การวิจัยและพัฒนาน้ำสลัดผลไม้เพื่อสุขภาพ
ผู้วิจัย ศุภมาศ กลิ่นขจร หน่วยงาน สำนักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร และสำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช |
171 |
1280 |
วิธีสุ่มตัวอย่าง, เก็บรักษา และประเมินปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมา สาเหตุโรคใบขาวในอ้อยด้วยเทคนิคพีซีอาร์
ผู้วิจัย ศุจิรัตน์ สงวนรังศิริกุล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 และสถาบันวิจัยพืชไร่ |
89 |
1279 |
การเพิ่มประสิทธิภาพของเชื้อไวรัสเอ็นพีวีชนิดต่างๆ ด้วยเทคนิค Microencapsulation
ผู้วิจัย สมชัย สุวงศ์ศักดิ์ศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1278 |
การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ไวรัสเอ็นพีวีสำเร็จรูปเพื่อกำจัดหนอนกระทู้หอม
ผู้วิจัย สมชัย สุวงศ์ศักดิ์ศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
75 |
1277 |
ศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ที่ผลิตด้วยวิธีต่างๆ
ผู้วิจัย สมชัย สุวงศ์ศักดิ์ศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1276 |
การสร้างต้นแบบเครือข่ายการผลิตมังคุดคุณภาพจังหวัดจันทบุรี
ผู้วิจัย สมบัติ ตงเต๊า หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี, สำนักวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ และสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) |
94 |
1275 |
ทดสอบประสิทธิภาพเชื้อจุลินทรีย์ และสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดหนอนกระทู้หอม, Spodoptera exigua Hubner ในกล้วยไม้
ผู้วิจัย สมรวย รวมชัยอภิกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1274 |
ทดสอบประสิทธิภาพเชื้อจุลินทรีย์ และสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดหนอนกระทู้หอม, Spodoptera exigua Hubner ในกระเจี๊ยบเขียว
ผู้วิจัย สมรวย รวมชัยอภิกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1273 |
ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงบางชนิดในการป้องกันกำจัดเพลี้ยจักจั่นฝ้ายและเพลี้ยไฟพริกโดยวิธีการราดโคน
ผู้วิจัย สมรวย รวมชัยอภิกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
76 |
1272 |
การศึกษาและพัฒนาวิธีการพ่นสารเพื่อป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้ง
ผู้วิจัย สมรวย รวมชัยอภิกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1271 |
ประสิทธิภาพสารสกัดสะเดาเชื้อแบคทีเรีย และสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัด หนอนกระทู้หอม หนอนชอนใบและเพลี้ยไฟหอมและผลกระทบต่อแมลงศัตรูธรรมชาติในหอมแดง
ผู้วิจัย สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1270 |
ประสิทธิภาพแบคทีเรีย และสารฆ่าแมลง ในการป้องกันกำจัดหนอนใยผัก หนอนกระทู้ผักและหนอนเจาะยอดกะหล่ำและผลกระทบต่อแมลงศัตรูธรรมชาติในกะหล่ำปลี
ผู้วิจัย สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1269 |
การพัฒนาระบบการผลิตปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศในฟาร์มผลิตพืชอินทรีย์
ผู้วิจัย สมปอง หมื่นแจ้ง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม, สำนักมาตรฐานและตรวจสอบสินค้าส่งออก, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต 2, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต 3, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต 4, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต 5, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต 6, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต 7 และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต 8 |
95 |
1268 |
การจัดการด้วงวงเจาะเมล็ดมะม่วงและการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชต่อเพลี้ยแป้งในแปลงมะม่วงอินทรีย์
ผู้วิจัย สราญจิต ไกรฤกษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
91 |
1267 |
ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดศัตรูสำคัญในมะม่วง
ผู้วิจัย สราญจิต ไกรฤกษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
91 |
1266 |
ประสิทธิภาพสารเคมีในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูที่สำคัญในชบาสำหรับการปลูกต่อเพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย สราญจิต ไกรฤกษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
94 |
1265 |
วิธีกำจัดแมลงด้วยความร้อนสำหรับกำจัดแมลงวันทองในผลมะนาวเพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย สลักจิต พานคำ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
78 |
1264 |
เทคโนโลยีการป้องกันกำจัดหนอนแมลงวันศัตรูเห็ดสำหรับเห็ดเพาะถุง
ผู้วิจัย สัญญาณี ศรีคชา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
80 |
1263 |
การคัดเลือกสารเคมีและสารสกัดจากพืชในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูที่สำคัญในมะเขือเปราะ
ผู้วิจัย สัญญาณี ศรีคชา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1262 |
ชีววิทยา การเข้าทำลาย ฤดูกาลระบาดของแมลงวันทองชนิด Bactrocera cucurbitae (Coquillet)
ผู้วิจัย สัญญาณี ศรีคชา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
81 |
1261 |
การผลิตขยายไส้เเดือนฝอย Steinernema glaseri เพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช
ผู้วิจัย สาทิพย์ มาลี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
79 |
1260 |
การทดสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ไส้เดือนฝอย Steinernema carpocapsae สูตรผงในการควบคุมแมลงศัตรูพืช
ผู้วิจัย สาทิพย์ มาลี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
83 |
1259 |
การสร้างต้นแบบระบบเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภาคใต้ตอนล่าง
ผู้วิจัย สำราญ สะรุโณ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพัทลุง, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 และนักวิจัยอิสระ |
93 |
1258 |
ทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชของสารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก (pre-emergence) ในอ้อยปลูกใหม่
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพุพรรณบุรี และสถาบันวิจัยพืชไร่ |
84 |
1257 |
ทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชของสารกำจัดวัชประเภทหลังงอก (post-emergence) ในอ้อยปลูกใหม่และอ้อยตอ
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี และสถาบันวิจัยพืชไร่ |
89 |
1256 |
การจัดการวัชพืชประเภทเถาเลื้อยในอ้อย
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี และสถาบันวิจัยพืชไร่ |
87 |
1255 |
ทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชของสารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก (pre-emergence) ในข้าาวโพดเลี้ยงสัตว์
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์จัยพืชไร่นครสวรรค์ |
76 |
1254 |
ทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชของสารกำจัดวัชพืชประเภทหลังงอก (post-emergence) ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ |
86 |
1253 |
ทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชของสารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก (pre-emergence) และหลังงอก (post-emergence) ในสับปะรด
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี |
82 |
1252 |
ทดสอบสารกำจัดวัชพืชที่มีประสิทธิในการฆ่าตอสับปะรด
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
75 |
1251 |
การจัดการวัชพืชบาหยา (หรือหญ้าดอกขาว) ในสับปะรด
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพัทลุง |
91 |
1250 |
ศักยภาพในการแข่งขันของจิงจ้อในพืชหลัก
ผู้วิจัย สิริชัย สาธุวิจารณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1249 |
ช่วงความถี่ที่เหมาะสมในการพ่นสารฆ่าแมลงป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟฝ้ายในกล้วยไม้
ผู้วิจัย สิริกัญญา ขุนวิเศษ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
83 |
1248 |
การผลิตชุดตรวจสอบ Potato virus A สำเร็จรูปโดยเทคนิค Gold labeling IgG flow test
ผู้วิจัย สิทธิศักดิ์ แสไพศาล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
91 |
1247 |
การเฝ้าระวังการแพร่ระบาดโรคไวรัสของมันฝรั่งจากเชื้อ PVA, PVM, PVT, PVX, PVS และ PLRV
ผู้วิจัย สิทธิศักดิ์ แสไพศาล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเชียงใหม่ |
80 |
1246 |
การผลิตแอนติซีรัมของเชื้อไวรัส Bean yellow mosaic virus
ผู้วิจัย สิทธิศักดิ์ แสไพศาล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
82 |
1245 |
การพัฒนาชุดตรวจสอบแบบ Lateral flow test strip เพื่อตรวจสอบไวรัส Cucumber mosaic virus
ผู้วิจัย สิทธิศักดิ์ แสไพศาล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1244 |
พัฒนารูปแบบการเก็บรักษาเซลล์แมลงเพาะเลี้ยงต้นแบบ
ผู้วิจัย สุชลวัจน์ ว่องไวลิขิต หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
82 |
1243 |
พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไวรัส NPV จากเซลล์เพาะเลี้ยง
ผู้วิจัย สุชลวัจน์ ว่องไวลิขิต, สาทิพย์ มาลี และเสาวนิตย์ โพธิ์พิ์พูนศักดิ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1242 |
ศึกษาอัตราสารออกฤทธิ์ของสารฆ่าแมลงกลุ่ม diamide ในการป้องกันกำจัดหนอนใยผักในคะน้าด้วยวิธีการพ่นสารแบบน้ำน้อย
ผู้วิจัย สุชาดา สุพรศิลป์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
90 |
1241 |
การคัดเลือกต้นตอทุเรียนพันธุ์พื้นเมืองที่ทนทานหรือต้านทานต่อเชื้อรา Phytopthora sp. สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน
ผู้วิจัย สุพัตรา อินทวิมลศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
99 |
1240 |
การจัดการโรคต้นเหี่ยวของฝรั่ง
ผู้วิจัย สุพัตรา อินทวิมลศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1239 |
การคัดเลือกต้นตอฝรั่งที่ทนทานหรือต้านทานต่อโรคเหี่ยวฝรั่งพันธุ์การค้า
ผู้วิจัย สุพัตรา อินทวิมลศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1238 |
การพัฒนากระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลัง
ผู้วิจัย สุกิจ รัตนศรีวงษ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา |
99 |
1237 |
ความผันแปรของความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในหนอนใยผัก (diamondback moth, Plutella xylostella (L.)) จากพื้นที่ปลูกต่างๆ
ผู้วิจัย สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1236 |
กลไกความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในหนอนใยผัก (diamondback moth, Plutella xylostella (L.))
ผู้วิจัย สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
91 |
1235 |
ความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟฝ้าย (cotton thrips, Thrips palmi Karny)
ผู้วิจัย สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1234 |
กลไกความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในหนอนใยผัก (diamondback moth, Plutella xylostella (L.))
ผู้วิจัย สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1233 |
การพยากรณ์ความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงของหนอนใยผัก เพื่อการบริหารจัดการศัตรูพืชในระดับท้องที่
ผู้วิจัย สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1232 |
การคัดเลือกสารฆ่าแมลงกลุ่มต่างๆ ในการป้องกันกำจัดหนอนใยผัก
ผู้วิจัย สุภางคนา ถิรวุธ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1231 |
การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรคเหี่ยวของขิงด้วยสาร isothiocyanate ในพืชตระกูลกะหล่ำ
ผู้วิจัย สุรชาติ คูอาริยะกุล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 และภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
90 |
1229 |
การศึกษาชนิดของศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ปาล์มน้ำมันนำเข้าจากต่างประเทศ
ผู้วิจัย สุรพล ยินอัศวพรรณ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
93 |
1228 |
การทดสอบการปลูกปาล์มน้ำมันของมูลนิธิชัยพัฒนาในพื้นที่อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา
ผู้วิจัย สุรกิตติ ศีรกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7, ศูนย์วิจัยปาล์มน้ำมันสุราษฎร์ธานี และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพังงา |
94 |
1227 |
คัดเลือกแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่มีศักยภาพในการควบคุมเชื้อแบคทีเรีย Erwinia carotovora subsp. carotovora และ E. chrysanthemi สาเหตุโรคเน่าและกล้วยไม้
ผู้วิจัย สุรีย์พร บัวอาจ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ |
89 |
1226 |
ประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเห็ดเรืองแสง Neonothopanus nambi ต่อไส้เเดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita) ในพริก
ผู้วิจัย สุรีย์พร บัวอาจ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสถาบันวิจัยพืชสวน |
87 |
1225 |
การฟื้นสภาพสวนกาแฟเสื่อมโทรมในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
ผู้วิจัย สุรีรัตน์ ปัญญาโตนะ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพร และสถาบันวิจัยพืชสวน |
95 |
1223 |
การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตพริกแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในจังหวัดแพร่
ผู้วิจัย สุทธินี เจริญคิด หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่ และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที 1 |
90 |
1221 |
ประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดโรคพืชในการป้องกันกำจัดเชื้อรา Curvularia eragrostidis สาเหตุโรคพืช
ผู้วิจัย สุณีรัตน์ สีมะเดื่อ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
91 |
1220 |
การเฝ้าระวังการแพร่กระจายของราสนิม (tropical maize rust) : Physopella zeae (Mains) Cummins & Ramachar ในข้าวโพด
ผู้วิจัย สุณีรัตน์ สีมะเดื่อ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
96 |
1219 |
อนุกรมวิธานและพืชอาศัยของรา Alternaria สาเหตุโรคพืช
ผู้วิจัย สุณีรัตน์ สีมะเดื่อ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1218 |
การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของเมล็ดพันธุ์พิทูเนียนำเข้าจากญี่ปุ่น
ผู้วิจัย สุคนธ์ทิพย์ สมบัติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1217 |
เทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยชีวภาพเพื่อประโยชน์ทางการเกษตร
ผู้วิจัย สุปรานี มั่นหมาย หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
107 |
1216 |
อนุกรมวิธานแมลงหวี่ขาวในมันสำปะหลัง
ผู้วิจัย สุนัดดา เชาวลิต หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักักขาพืช |
93 |
1215 |
อนุกรมวิธานแมลงหวี่ขาวในวงศ์ย่อย Aleurodicinae
ผู้วิจัย สุนัดดา เชาวลิต หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1214 |
อนุกรมวิธานผีเสื้อกลางคืนวงศ์ย่อย Pyraustinae
ผู้วิจัย สุนัดดา เชาวลิต หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
77 |
1213 |
ความหลากชนิดของตั๊กแตนหนวดสั้นวงศ์ Arcrididae ในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย
ผู้วิจัย สุนัดดา เชาวลิต หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
100 |
1212 |
ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลังด้วยวิธีราดโคนต้น
ผู้วิจัย สุเทพ สหายา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
82 |
1211 |
ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงประเภทพ่นทางใบป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ผู้วิจัย สุเทพ สหายา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1210 |
ทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงประเภทคลุกเมล็ดในการป้องกันกำจัดเพลี้ยอ่อนและเพลี้ยไฟในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ผู้วิจัย สุเทพ สหายา หน่วยงาน สำนักวิจิยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ |
76 |
1209 |
ทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงประเภทพ่นทางใบในการป้องกันกำาจัดเพลี้ยอ่อนและเพลี้ยไฟในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ผู้วิจัย สุเทพ สหายา หน่วยงาน สำนักวิจิยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ |
85 |
1208 |
การทดสอบประสิทธิภาพสารประเภทคลุกเมล็ดป้องกันกำจัดแมลงศัตรูที่สำคัญในถั่วเหลือง
ผู้วิจัย สุเทพ สหายา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ |
85 |
1207 |
ทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงในการคลุกเมล็ดในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูสำคัญของถั่วเขียว
ผู้วิจัย สุเทพ สหายา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ |
74 |
1206 |
ทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงประเภทพ่นทางใบในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูสำคัญของถั่วเขียว
ผู้วิจัย สุเทพ สหายา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ |
75 |
1205 |
ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวในมะเขือเทศโดยใช้กับถาดเพาะชำราดทางดินและรองก้นหลุมในแปลงทดสอบ
ผู้วิจัย สุเทพ สหายา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
91 |
1204 |
การคัดเลือกสารป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวและหนอนชอนใบในผักสวนครัว (กะเพรา โหระพา และแมงลัก)
ผู้วิจัย สุเทพ สหายา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
93 |
1203 |
การศึกษาวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัดเชื้อรา Fusarium spp. สาเหตุโรคในกล้วยไม้ที่ปลูกเป็นการค้า
ผู้วิจัย อภิรัชต์ สมฤทธิ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
90 |
1202 |
การศึกษาวิธีการป้องกันกำจัดราเมือก (slime mould) ที่ทำความเสียหายในการเพาะเห็ดถุงเพื่อการค้า
ผู้วิจัย อภิรัชต์ สมฤทธิ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1201 |
ชนิด และแหล่งอาศัยของเชื้อรา Papulaspora sp. และระดับความเสียหายที่พบปนเปื้อนในการเพาะเห็ดฟาง (Volvariella volvacea ) เป็นการค้า
ผู้วิจัย อภิรัชต์ สมฤทธิ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1200 |
ปฏิกิริยาของพันธุ์หน้าวัวลูกผสมต่อโรคเน่าดำที่มีสาเหตุจากรา Phytophthora parasitica
ผู้วิจัย อมรรัตน์ ภู่ไพบูลย์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 |
77 |
1199 |
การจัดการโรคราสนิมขาวของเบญจมาศ
ผู้วิจัย อมรรัตน์ ภู่ไพบูลย์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 |
94 |
1198 |
ผลสารป้องกันกำจัดโรคพืช metalaxyl ต่อการเจริญของรา Phytophthora palmivora palmivora
ผู้วิจัย อมรรัตน์ ภู่ไพบูลย์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1197 |
การศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยาของรา Phytophthora capsici
ผู้วิจัย อมรรัตน์ ภู่ไพบูลย์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
83 |
1196 |
การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงศัตรูพืชของผลอะโวคาโดนำเข้าจากเครือรัฐออสเตรเลีย
ผู้วิจัย อลงกต โพธิ์ดี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1195 |
สารฆ่าไรบางชนิดที่ก่อให้เกิดการระบาดมากขึ้นของไรแดงแอฟริกัน
ผู้วิจัย อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1194 |
ถั่วเหลืองสำหรับแปรรูปน้ำนมถั่วเหลือง: พันธุ์ลพบุรี 84-1
ผู้วิจัย อานนท์ มลิพันธ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลพบุรี, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุโขทัย, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบูรณ์, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิษณุโลก, สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน, ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 |
87 |
1193 |
การใช้สูตรผสมไวรัส NPV และแบคทีเรีย Bt ในการควบคุมหนอนผีเสื้อศัตรูพืช
ผู้วิจัย อิศเรส เทียนทัด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1192 |
อนุกรมวิธานเพลี้ยไฟวงศ์ย่อย Panchaetothripinae
ผู้วิจัย อิทธิพล บรรณาการ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
80 |
1191 |
การศึกษาผลของสารกำจัดศัตรูพืชต่อประสิทธิภาพของแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis และไวรัส NPV
ผู้วิจัย อิศเรส เทียนทัด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1190 |
ความหลากชนิดของแมลงปออันดับโอโดนาทา (Odonata) ในภาคเหนือของประเทศไทย
ผู้วิจัย อิทธิพล บรรณาการ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
99 |
1189 |
ความหลากชนิดของด้วงงวงในเขตสงวนชีวมณฑลสะแกราช
ผู้วิจัย อิทธิพล บรรณาการ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1188 |
การทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลง สารชีวินทรีย์ และสารสกัดจากพืชในการป้องกันกำจัดหนอนแมลงวันศัตรูเห็ดที่สำคัญในเห็ด
ผู้วิจัย อุราพร หนูนารถ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
90 |
1187 |
การศึกษาชีววิทยา นิเวศวิทยา และการป้องกันกำจัดด้วงเจาะเห็ดแมลงศัตรูเห็ดที่สำคัญ
ผู้วิจัย อุราพร หนูนารถ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1186 |
ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลง และสารสกัดจากสะเดาในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟ
ผู้วิจัย อุราพร หนูนารถ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1185 |
การคัดเลือกสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟ (Cotton thrips)
ผู้วิจัย อุราพร หนูนารถ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1184 |
การทดสอบการให้ผลผลิตปาล์มน้ำมันที่ปลูกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ผู้วิจัย อุดม คำชา หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรหนองคาย, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครพนม, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสกลนคร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมุกดาหาร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรขอนแก่น, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเลย, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอุดรธานี, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรบุรีรัมย์, ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 |
93 |
1183 |
ประสิทธิภาพของสารกำจัดวัชพืชแบบ pre-emergence ในมันสำปะหลัง
ผู้วิจัย จรรยา มณีโชติ หน่วยงาน สำานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ และศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา |
90 |
1182 |
ศึกษาคุณภาพแป้ง และองค์ประกอบทางเคมี ในผลผลิตของมันแกวที่อายุเก็บเกี่ยวต่างกันในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม
ผู้วิจัย อนุชา เหลาเคน หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมหาสารคาม, สำนักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 |
99 |
1181 |
การเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชโดยการใช้สารกำจัดวัชพืชแบบ tank mixture
ผู้วิจัย จรรยา มณีโชติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา |
91 |
1180 |
สถานการณ์การระบาดและการจัดการวัชพืชต้านทานสารกำจัดวัชพืชกลุ่มยับยั้งการสังเคราะห์แสง
ผู้วิจัย จรรยา มณีโชติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ |
80 |
1179 |
สถานการณ์การระบาดและการจัดการวัชพืชต้านทานสารกำจัดวัชพืชกลุ่มยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ ACCase
ผู้วิจัย จรรยา มณีโชติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ |
84 |
1178 |
สถานการณ์การระบาดและการจัดการวัชพืชต้านทานสารกำจัดวัชพืชไกลโฟเสท
ผู้วิจัย จรรยา มณีโชติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ |
87 |
1177 |
การใช้เครื่องลูบร่วมกับสารกำจัดวัชพืชชนิดใช้ทางใบเพื่อลดความเป็นพิษต่อพืชปลูก
ผู้วิจัย จรรยา มณีโชติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยวิศวกรรมการเกษตรเชียงใหม่ และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ |
93 |
1176 |
ชนิดวัชพืชที่เป็นพืชอาศัยของเพลี้ยแป้งสกุล Phenacoccus
ผู้วิจัย จรรยา มณีโชติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ |
82 |
1175 |
เทคนิคการใช้สารกำจัดวัชพืชเพื่อควบคุมผักปราบในสวนส้ม
ผู้วิจัย จรรยา มณีโชติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ |
86 |
1174 |
การผลิตปัญจขันธ์เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ
ผู้วิจัย จรัญ ดิษฐไชยวงศ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร, ศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย, ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น และสถาบันวิจัยพืชสวน |
94 |
1173 |
การผลิตฟ้าทะลายโจรเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ
ผู้วิจัย จรัญ ดิษฐไชยวงศ์ หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2, สถาบันวิจัยพืชสวน, กองแผนงานและวิชาการ และสถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
112 |
1172 |
ศึกษาวิธีการจัดการวัชพืชในสวนปาล์มน้ำมัน
ผู้วิจัย จรัญญา ปิ่นสุภา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1171 |
ทดสอบประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชประเภทใช้ก่อนและหลังการงอกของวัชพืชเพื่อกำจัดวัชพืชประเภทใบแคบและใบกว้างในแปลงทดสอบ (ทานตะวัน)
ผู้วิจัย จรัญญา ปิ่นสุภา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลพบุรี |
92 |
1170 |
การศึกษาประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชเพื่อควบคุมวัชพืชเถาเลื้อยในโรงเรือน
ผู้วิจัย จรัญญา ปิ่นสุภา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1169 |
ผลของสารไกลโฟเสทต่อการเปลี่ยนแปลงประชากรวัชพืช
ผู้วิจัย จรัญญา ปิ่นสุภา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
83 |
1168 |
ผลของสารพาราควอทต่อการเปลี่ยนแปลงประชากรวัชพืช
ผู้วิจัย จรัญญา ปิ่นสุภา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
81 |
1167 |
การปรับปรุงพันธุ์พริกขี้หนูยอดสน
ผู้วิจัย เสาวนี เขตสกุล หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครพนม, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรหนองคาย, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรชัยภูมิ และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรโนนสูง |
109 |
1165 |
ศึกษา ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ในการจัดทำหลักเกณฑ์และการตรวจสอบพันธุ์พืชเพื่อรองรับการคุ้มครองพันธุ์พืช ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542
ผู้วิจัย จิระศักดิ์ กีรติคุณากร หน่วยงาน สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช |
83 |
1164 |
สัณฐานวิทยาของเมล็ดวัชพืชสกุลน้ำนมราชสีห์ Euphorbia
ผู้วิจัย ธัญชนก จงรักไทย หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, สำนักวิจัยพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 และสำนักคุ้มครองพันธุ์พืช |
81 |
1163 |
การศึกษาเชื้อราสาเหตุโรคใบไหม้ใบจุดของปทุมมา
ผู้วิจัย ธารทิพย ภาสบุตร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย |
85 |
1162 |
การทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดโรคพืชในการควบคุมโรคใบไหม้ใบจุดของปทุมมา
ผู้วิจัย ทัศนาพร ทัศคร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย |
90 |
1161 |
อนุกรมวิธานและชีววิทยาของราสกุล Choanephora สาเหตุโรคเน่าเปียก (Wet rot)
ผู้วิจัย ธารทิพย ภาสบุตร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
90 |
1160 |
การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่มีศักยภาพในการควบคุมเชื้อรา Didymella bryoniae ( Auersw.) Rehm. สาเหตุโรคยางไหล
ผู้วิจัย ทัศนาพร ทัศคร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1159 |
การจัดการโรครากโพรงของหน้าวัว
ผู้วิจัย ธิติยา สารพัฒน์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1158 |
การจัดการโรครากปมของฝรั่ง
ผู้วิจัย ธิติยา สารพัฒน์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
93 |
1157 |
การศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยาของรา Didymella bryoniae (Auersw.) Rehm.
ผู้วิจัย ทัศนาพร ทัศคร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1156 |
การคัดเลือกและทดสอบศักยภาพของเชื้อราปฏิปักษ์ของไส้เดือนฝอยรากปม
ผู้วิจัย ธิติยา สารพัฒน์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
87 |
1155 |
การป้องกันกำจัดโรคกลีบดอกไหม้ในกล้วยไม้สกุลมอคคาร่าโดยใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์และสารเคมี
ผู้วิจัย ทัศนาพร ทัศคร หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
91 |
1154 |
การเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของแบคทีเรีย Pseudomonas syringae pv. syringae ในพื้นที่ปลูกหอม กระเทียม เพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย ทิพวรรณ กันหาญาติ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
80 |
1153 |
การตรวจวิเคราะห์สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์พืชดัดแปรพันธุกรรมเพื่อการบริการและออกใบรับรอง
ผู้วิจัย ขนิษฐา วงศ์วัฒนารัตน์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ |
125 |
1152 |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ Bacillus subtilis สายพันธุ์ดินรากยาสูบ No.4 แบบเม็ดเพื่อควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียของขิง
ผู้วิจัย ณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1151 |
การเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของ Pantoea agglomerans ในพื้นที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด เพื่อการส่งออก
ผู้วิจัย ณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
95 |
1150 |
การจำแนกชนิดและเอกลักษณ์ทางพันธุกรรมของ Race แบคทีเรีย Rasonia solanacearum ที่พบในประเทศไทย
ผู้วิจัย ณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
80 |
1149 |
การพัฒนาชุดตรวจสอบแบบ Lateral flow test strip เพื่อตรวจสอบแบคทีเรีย Burkholderia gladioli pv. gladioli
ผู้วิจัย ณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1148 |
การตรวจสอบเชื้อแบคทีเรีย Xanthomomnas axonopodis pv. citri ด้วยเทคนิค Real-time PCR
ผู้วิจัย ณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
79 |
1147 |
การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ชนิดผง Bacillus subtilis สายพันธุ์ 4415 และสายพันธุ์ดินอ้อยno. 6 เพื่อควบคุมโรคเหี่ยวของปทุมมา
ผู้วิจัย ณัฏฐิมา โฆษิตเจริญกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย |
144 |
1146 |
การปรับปรุงวิธีการตรวจหาแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum ในหัวพันธุ์ปทุมมาโดยใช้ชุดตรวจสอบ (GLIFT kit) โรคเหี่ยวของปทุมมาและการขยายผลการใช้ชุดตรวจสอบในกระบวนการผลิตหัวพันธุ์
ผู้วิจัย ณัฏฐิมา โฆษิตเจริญกุล หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย |
95 |
1145 |
คัดเลือกชนิด และศึกษาพฤติกรรมการกินหอยทากของหอยตัวห้ำวงศ์ Streptaxidae ในประเทศไทย
ผู้วิจัย ดาราพร รินทะรักษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1144 |
ผลกึ่งเรื้อรังของสารสกัดจากกากเมล็ดชากำจัดหอย Camellia sinensis L. ที่มีต่อเหงือกและเนื้อเยื่อตับของปลานิล Oreochromis niloticus L.
ผู้วิจัย ดาราพร รินทะรักษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
93 |
1143 |
สัณฐานวิทยาของเปลือกและกายวิภาคศาสตร์ระบบสืบพันธุ์ของหอยเจดีย์เล็ก Lamellaxis gracilis และหอยเจดีย์ใหญ่ Prosopea walkeri (Benson)
ผู้วิจัย ดาราพร รินทะรักษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
95 |
1142 |
การใช้สารเสริมประสิทธิภาพความแข็งแรงในการป้องกันกำจัดโรคที่เกิดจากแบคทีเรียของกล้วยไม้แวนดาแอสโคเซนดา
ผู้วิจัย ดารุณี ปุญญพิทักษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสถาบันวิจัยพืชสวน |
90 |
1141 |
การตรวจสอบเชื้อ Candidatus Liberibacter species สาเหตุโรคฮวงลองบิง (กรีนนิ่ง) ด้วยเทคนิค Real-time PCR
ผู้วิจัย ดารุณี ปุญญพิทักักษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
165 |
1140 |
การใช้สารเสริมความแข็งแรงในการป้องกันกำจัดโรคใบจุดที่เกิดจากแบคทีเรียของกล้วยไม้ (ออนซิเดียม)
ผู้วิจัย ดารุณี ปุญพิทักษ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสถาบันวิจัยพืชสวน |
87 |
1139 |
การจัดการวัชพืชเพื่อการผลิตถั่วเขียวคุณภาพ
ผู้วิจัย คมสัน นครศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาญจนบุรี |
87 |
1138 |
การศึกษาประสิทธิภาพของพืชคาโลโปโกเนียม ซีรูเลียมต่อการควบคุมหญ้าคา
ผู้วิจัย คมสัน นครศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาญจนบุรี |
91 |
1137 |
การทดสอบประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชเพื่อควบคุมธูปฤาษี
ผู้วิจัย คมสัน นครศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
82 |
1136 |
การทดสอบประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชเพื่อควบคุมแห้วหมู; (Cyperus rotundus Linn.)
ผู้วิจัย คมสัน นครศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลพบุรี |
94 |
1135 |
ประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชในการกำจัดสาหร่ายหางกระรอก (Hydrilla verticillata (Linn.f.) Royle) และสาหร่ายพุงชะโด (Ceratophyllum demersum Linn.) และผลกระทบต่อสัตว์น้ำ
ผู้วิจัย คมสัน นครศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
82 |
1134 |
ผลของอัตราความเข้มข้นของสารกำจัดวัชพืชและปริมาณน้ำต่อประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืชโดยใช้เทคนิคการลูบ
ผู้วิจัย คมสัน นครศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
81 |
1133 |
การศึกษาช่วงเวลาการใช้สารกำจัดวัชพืช paraquat ในข้าวโพด
ผู้วิจัย คมสัน นครศรี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลพบุรี |
91 |
1132 |
การใช้แมลงช้างปีกใส Plesiochrysa ramburi ในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังในสภาพไร่
ผู้วิจัย ประภัสสร เชยคำแหง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1131 |
การทดสอบประสิทธิภาพของแมลงช้างปีกใสในการควบคุมแมลงหวี่ขาวใยเกลียว
ผู้วิจัย ประภัสสร เชยคำแหง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
90 |
1130 |
การศึกษาผลกระทบของสารฆ่าแมลงปากดูดต่อแมลงช้างปีกใส
ผู้วิจัย ประภัสสร เชยคำแหง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
89 |
1129 |
ปริมาณสารพิษตกค้างในผลิตผลการเกษตรเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย ประภัสสรา พิมพ์พันธุ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
88 |
1128 |
วิจัยและพัฒนาเครื่องขุดและเก็บมันสำปะหลัง
ผู้วิจัย ประสาท แสงพันธุ์ตา หน่วยงาน สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม |
85 |
1127 |
การสร้างดีเอ็นเอมาตรฐานเพื่อการตรวจวิเคราะห์ถั่วเหลืองและข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรม
ผู้วิจัย ประสาน สืบสุข หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ |
91 |
1126 |
การเพิ่มคุณภาพผลผลิตกล้วยไข่เพื่อการส่งออกแบบบูรณาการ
ผู้วิจัย ประนอม ใจอ้าย หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่ และสถาบันวิจัยพืชสวน |
96 |
1125 |
การผลิตปุ๋ยชีวภาพสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินโดยใช้ปุ๋ยหมักมูลไก่ และการใช้ประโยชน์สำหรับข้าวระยะต้นกล้า
ผู้วิจัย ประไพ ทองระอา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
91 |
1124 |
การควบคุมหอยซัคซิเนีย Succinea sp. ในสวนกล้วยไม้โดยวิธีผสมผสาน
ผู้วิจัย ปราสาททอง พรหมเกิด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
86 |
1123 |
ประสิทธิภาพไส้เดือนฝอย (Steinernema sp.) ควบคุมทาก Parmarion sp.
ผู้วิจัย ปราสาททอง พรหมเกิด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1122 |
ความเป็นพิษและประสิทธิภาพของสบู่ดำ Jatropha curcus และมะคำดีควาย Sapidus emajinatus เพื่อใช้เป็นสารกำจัดหอยสาลิกา Sarika sp และหอยดักดาน Cryptozona siamensis
ผู้วิจัย ปราสาททอง พรหมเกิด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
83 |
1121 |
ความหลากชนิดและประชากรของหอยทากและทากในโรงเรือนปลูกพืช
ผู้วิจัย ปราสาททอง พรหมเกิด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
82 |
1120 |
การศึกษาพรรณไม้วงศ์ Balsaminaceae และGesneriaceae บริเวณเทือกเขาหินปูน
ผู้วิจัย ปราโมทย์ ไตรบุญ หน่วยงาน สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช |
87 |
1119 |
การคัดเลือกสายพันธุ์มะละกอต้านทานไวรัสจุดวงแหวน Papaya ring spot virus ในสภาพเรือนทดลอง
ผู้วิจัย ปริเชษฐ์ ตั้งกาญจนภาสน์ หน่วยงาน สำนักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ |
94 |
1118 |
การตรวจติดตามเชื้อ Columnea latent viroid (CLVd) ที่ติดเข้ามากับเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศที่นำเข้าจากต่างประเทศ
ผู้วิจัย ปริเชษฐ์ ตั้งกาญจนภาสน์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1117 |
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการไว้ตออ้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ผู้วิจัย ปรีชา กาเพ็ชร หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น |
84 |
1116 |
การศึกษาชนิดของศัตรูพืชกักกันที่ติดมากับหัวพันธุ์มันฝรั่งนำเข้าจากต่างประเทศ
ผู้วิจัย ปรียพรรณ พงศาพิชณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1115 |
ศักยภาพของเชื้อ Bacillus subtilis WD 20 ในการสร้างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เพื่อควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าของส้มโอ และควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
ผู้วิจัย นลินี ศิวากรณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร และสถาบันวิจัยพืชไร่ |
79 |
1114 |
ปฏิกิริยาของทุเรียนพันธุ์ลูกผสมต่อเชื้อรา Phytopthora palmivora
ผู้วิจัย นลินี ศิวากรณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสถาบันวิจัยพืชสวน |
103 |
1113 |
การควบคุมโรครากเน่าและโคนเน่าของทุเรียนโดยใช้ชีวภัณฑ์ที่ผลิตได้จากเชื้อ Bacillus subtilis
ผู้วิจัย นลินี ศิวากรณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
116 |
1112 |
อัตราและระยะเวลาที่หมาะสมในการใช้ชีวภัณฑ์ที่ผลิตได้จากเชื้อ Bacillus subtilis เพื่อป้องกันกำจัดโรคแคงเกอร์ของมะนาว
ผู้วิจัย นลินี ศิวากรณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสถาบันวิจัยพืชสวน |
89 |
1111 |
การพัฒนาน้ำหมักกระเทียมร่วมกันสมุนไพรอื่นเพื่อควบคุมโรคแคงเกอร์ของมะนาว
ผู้วิจัย นลินี ศิวากรณ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสถาบันวิจัยพืชสวน |
91 |
1110 |
พริกอินทรีย์ไทยก้าวไกลสู่ครัวโลก
ผู้วิจัย นวลจันทร์ ศรีสมบัติ หน่วยงาน สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 และศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ |
99 |
1109 |
อนุกรมวิธานไส้เดือนฝอยสกุล Steinernema และ Heterorhabditis
ผู้วิจัย นุชนารถ ตั้งจิตสมคิด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
97 |
1108 |
อนุกรมวิธานและชีววิทยาของไส้เดือนฝอยสกุล Radopholus
ผู้วิจัย นุชนารถ ตั้งจิตสมคิด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักควบคุมวัสดุการเกษตร |
85 |
1107 |
การพัฒนาชุดตรวจสอบและเทคนิคการแยกไส้เดือนฝอยในรากพืช
ผู้วิจัย นุชนารถ ตั้งจิตสมคิด หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักควบคุมวัสดุการเกษตร |
82 |
1106 |
การศึกษาชนิดของศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ผักชีนำเข้าจากต่างประเทศ
ผู้วิจัย นงพร มาอยู่ดี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, สำนักผู้เชี่ยวชาญ และด่านตรวจพืชลาดกระบัง |
85 |
1105 |
การศึกษาชนิดของศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดข้าวสาลีนำเข้าจากต่างประเทศ
ผู้วิจัย นงพร มาอยู่ดี หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, สำนักผู้เชี่ยวชาญ, สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร และด่านตรวจพืชท่าเรือแหลมฉบัง |
81 |
1104 |
การผลิตขยายพันธุ์แตนเบียน Anagyrus lopezi เพื่อควบคุมการระบาด ของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพูในจังหวัดกาฬสินธุ์
ผู้วิจัย แคทลิยา เอกอุ่น หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 |
82 |
1103 |
การใช้ปอเทืองควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในมันฝรั่ง
ผู้วิจัย ไตรเดช ข่ายทอง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
77 |
1102 |
การคัดเลือกแบคทีเรีย Pasteuria penetrans ที่มีศักยภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne spp.
ผู้วิจัย ไตรเดช ข่ายทอง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ |
86 |
1101 |
อนุกรมวิธานและความสามารถในการทำให้เกิดโรคของไส้เดือนฝอย migratory endoparasitic nematodes
ผู้วิจัย ไตรเดช ข่ายทอง หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
92 |
1100 |
การเข้าถึงและการแบ่งปันผลประโยชน์จากการใช้พันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปและพันธุ์พืชป่า เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒
ผู้วิจัย เบญจวรรณ จำรูญพงษ์ หน่วยงาน สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช, สำนักผู้เชี่ยวชาญ, อัยการจังหวัดประจำสำนักงานอัยการสูงสุด, ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานี, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, หัวหน้าภาควิชานิติศาสตร์, รองคณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา |
93 |
1099 |
การประเมินระบบการผลิต การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ และสารพิษตกค้างในกะเพรา โหระพา และสะระแหน่ ส่งออกหลังการเก็บเกี่ยวในจังหวัดนครปฐม
ผู้วิจัย เพทาย กาญจนเกสร หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครปฐม |
81 |
1098 |
การศึกษาประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชเพื่อควบคุมหญ้าสาบ
ผู้วิจัย เพ็ญศรี นันทสมสราญ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนยวิจัยพืชสวนจันทบุรี |
84 |
1097 |
จำแนกชนิดวัชพืชในพืชสมุนไพร 10 พืช
ผู้วิจัย เพ็ญศรี นันทสมสราญ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักคุ้มครองพันธุ์พืช |
90 |
1096 |
ความชุกชุมและแหล่งอาศัยของนกแสก (Tyto alba javanica (Gmelin, 1788)) ในพื้นที่ภาคกลาง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ผู้วิจัย เกรียงศักดิ์ หามะฤทธิ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
91 |
1095 |
ความหลากชนิดของสัตว์ศัตรูธรรมชาติของสัตว์ฟันแทะในพื้นที่ปลูกพืชไร่บนพื้นที่เกษตรที่สูงภาคเหนือ
ผู้วิจัย เกรียงศักดิ์ หามะฤทธิ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
93 |
1094 |
เทคโนโลยีการป้องกันกำจัดแมลงวันผลไม้โดยวิธีผสมผสานในมะม่วง
ผู้วิจัย เกรียงไกร จำเริญมา หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
79 |
1093 |
การจำแนกชนิดของไวรัสกลุ่ม Tospovirus สาเหตุโรคพืชที่สำคัญในประเทศไทย
ผู้วิจัย เยาวภา ตันติวานิช หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
93 |
1092 |
การผลิตชุดตรวจสอบเชื้อไวรัส Sugarcane mosaic virus subgroup Maize dwarf mosic virus
ผู้วิจัย เยาวภา ตันติวานิช หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ |
87 |
1091 |
การพัฒนาเครื่องอบแห้งกาแฟกะลาโรบัสต้า
ผู้วิจัย เวียง อากรชี หน่วยงาน ศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมจันทบุรี และสถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม |
91 |
1090 |
การใช้สารกำจัดวัชพืชในการป้องกันกำจัดวัชพืชในกล้วยไม้สกุลหวาย
ผู้วิจัย เสริมศิริ คงแสงดาว หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และสำนักวิจัยพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 |
93 |
1089 |
ศักยภาพของฝอยทองในการควบคุมบาหยา (หญ้าดอกขาว)
ผู้วิจัย เสริมศิริ คงแสงดาว หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
88 |
1088 |
ศักยภาพของฝอยทองในการควบคุมขี้ไก่ย่าน
ผู้วิจัย เสริมศิริ คงแสงดาว หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
85 |
1087 |
ชีววิทยาและการแพร่กระจายของดาดตะกั่ว
ผู้วิจัย เสริมศิริ คงแสงดาว หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
84 |
1086 |
การคัดเลือกและพัฒนาวิธีการเลี้ยงเชื้อราบิวเวอเรีย (white muscardine fungus); Beauveria bassiana (Balsamo) เพื่อใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืช
ผู้วิจัย เสาวนิตย์ โพธิ์พูนศักดิ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
101 |
1085 |
อัตราการใช้เชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae (Metsch) Sorokin ในการควบคุมหนอนด้วงแรดมะพร้าว
ผู้วิจัย เสาวนิตย์ โพธิ์พูนศักดิ์ หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช |
105 |
1084 |
การวิเคราะห์และพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อประเมินศักยภาพการผลิตมะม่วง
ผู้วิจัย เกษมศักดิ์ ผลากร หน่วยงาน สถาบันวิจัยพืชสวน และศูนย์สารสนเทศ |
87 |
1083 |
การใช้ตัวชี้วัดเพื่อเป็นฐานการจัดทำโฉนดคาร์บอน
ผู้วิจัย สมเจตน์ ประทุมมินทร์ หน่วยงาน |
87 |