คลังผลงานวิจัย

กรมวิชาการเกษตร

รายงานผลงานวิจัยและพัฒนา ปี2564 (89)

# ชื่อเรื่อง view
2472 พัฒนาเครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียผ่านกระบวนการเรียนรู้การผลิตมันสำปะหลังจังหวัดขอนแก่น
ผู้วิจัย สรรเสริญ เสียงใส
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรขอนแก่น,กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
17
2471 การจัดการสารละลายธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของมะเขือเทศเชอรี่ พริกขี้หนูผลใหญ่ พริกหยวก แตงโมไร้เมล็ด และแตงกวาญี่ปุ่น ในระบบโรงเรือน
ผู้วิจัย อรัญญ์ ขันติยวิชย์
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรขอนแก่น สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 และกองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2470 การศึกษาและพัฒนาวิธีวิเคราะห์ปุ๋ยธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริมในรูปที่ในละลายน้ำได้ ผ่านโปรแกรมการทดสอบความชำนาญห้องปฎิบัติการ
ผู้วิจัย จรีรัตน์ กุศลวิริยะวงศ์
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2469 ศึกษาหาปริมาณฮอร์โมน indole acetic acid (IAA) gibberellic acid (GA3) และ ธาตุอาหารในกล้วยน้ำว้า
ผู้วิจัย สาธิดา โพธิ์น้อย
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
10
2468 การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ Indole acetic acid (IAA) และ Gibberellic acid (GA3) ในผลิตภัณฑ์วัตถุเคมีการเกษตร
ผู้วิจัย เพชรรัตน์ ศิริวิ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
11
2467 พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์กรดอะมิโนที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
ผู้วิจัย สุพิศสา ทองเขียว
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
11
2466 พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำทั้งหมดและหาค่าคงที่เพื่อประเมินความเค็มของน้ำทางการเกษตร
ผู้วิจัย จิตติรัตน์ ชูชาติ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2465 เปรียบเทียบวิธีวิเคราะห์หาปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในปุ๋ยเคมีปุ๋ยอินทรีย์เคมี และปุ๋ยหินฟอสเฟตด้วยวิธีโดยตรงและวิธีโดยอ้อม
ผู้วิจัย เจนจิรา เทเวศร์วรกุล
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2464 ศึกษาหาค่ากำหนดของเหล็ก และทองแดงทั้งหมดในตัวอย่างปุ๋ยอ้างอิงด้วยเทคนิค Inductively coupled plasma–isotope dilution mass spectrometry (ICP–IDMS)
ผู้วิจัย กัญฐณา คล้ายแก้ว
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2463 ศึกษาหาค่ากำหนดของเหล็ก และทองแดงทั้งหมดในตัวอย่างดินอ้างอิงด้วยเทคนิค Inductively coupled plasma–isotope dilution mass spectrometry (ICP–IDMS)
ผู้วิจัย กัญฐณา คล้ายแก้ว
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
10
2462 พิสูจน์เอกลักษณ์ และสมบัติทางเคมีและกายภาพของสารปรับปรุงดินชนิดปูนมาร์ล โดยเทคนิคอินฟาเรดย่านใกล้
ผู้วิจัย ญาณธิชา จิตต์สะอาด
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2461 พิสูจน์เอกลักษณ์ และสมบัติทางเคมีและกายภาพของสารปรับปรุงดินชนิดโดโลไมค์โดยเทคนิคอินฟาเรดย่านใกล้
ผู้วิจัย สุภา โพธิจันทร์
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2460 พิสูจน์เอกลักษณ์ และสมบัติทางเคมีและกายภาพของสารปรับปรุงดินชนิดปูนขาว โดยเทคนิคอินฟาเรดย่านใกล้
ผู้วิจัย สงกรานต์ มะลิสอน
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2459 วิเคราะห์หาปริมาณอินทรียวัตถุในปุ๋ยอินทรีย์เคมีด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้
ผู้วิจัย ชฎาพร คงนาม
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2458 พิสูจน์เอกลักษณ์ และวิเคราะห์องค์ประกอบของไนโตรเจนในปุ๋ยเคมีด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้
ผู้วิจัย ชฎาพร คงนาม
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2457 พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ซิลิคอนในดินด้วยเทคนิคอินดักทีพลีคัพเปิลพลาสมาสเปคโตรเมทรี
ผู้วิจัย จิตติรัตน์ ชูชาติ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2456 พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์เหล็ก แมงกานีส สังกะสี และทองแดง ที่เป็นประโยชน์ในดินด้วยเทคนิคอินดักทีพลีคัพเปิลพลาสมาสเปคโตรเมทรี
ผู้วิจัย สงกรานต์ มะลิสอน
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2455 พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์โพแทสเซียม โซเดียม แคลเซียม และแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน ด้วยเทคนิคอินดักทีพลีคัพเปิลพลาสมาสเปคโตรเมทรี
ผู้วิจัย สุภา โพธิจันทร์
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2454 พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืชในดินด้วยเทคนิคอินดักทีพลีคัพเปิลพลาสมาสเปคโตรเมทรี
ผู้วิจัย พจมาลย์ ภู่สาร
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2453 พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์โบรอนในพืชด้วยเทคนิคอินดักทีพลีคัพเปิลพลาสมาสเปคโตรเมทรี
ผู้วิจัย สุวลักษมิ์ ไชยทอง
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2452 พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์โบรอนในดินด้วยเทคนิคอินดักทีพลีคัพเปิลพลาสมาสเปคโตรเมทรี
ผู้วิจัย จิตติรัตน์ ชูชาติ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2451 พัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์โบรอนในปุ๋ยเคมีด้วยเทคนิคอินดักทีพลีคัพเปิลพลาสมาสเปคโตรเมทรี
ผู้วิจัย อาธิยา ปุ่นประโคน
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2450 ศึกษาเกณฑ์คลาดเคลื่อนจากค่าความไม่แน่นอนของการวิเคราะห์คลอไรด์ในปุ๋ยเคมี
ผู้วิจัย ศุภัคชญา ทาหาร
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2449 ศึกษาเกณฑ์คลาดเคลื่อนจากค่าความไม่แน่นอนของการวิเคราะห์อินทรียวัตถุในปุ๋ยอินทรีย์เคมี
ผู้วิจัย ศุภัคชญา ทาหาร
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
10
2448 ศึกษาเกณฑ์คลาดเคลื่อนจากค่าความไม่แน่นอนของการวิเคราะห์หาปริมาณแคลเซียมออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์ และกำมะถันในปุ๋ยเคมีด้วยเทคนิคอินดักทีพลีคัพเปิลพลาสมาสเปคโตรเมทรี
ผู้วิจัย พงศ์พิศ แก้วสุข
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2447 ศึกษาเกณฑ์คลาดเคลื่อนจากความไม่แน่นอนของการวิเคราะห์โพแทสเซียมทั้งหมดในปุ๋ยอินทรีย์
ผู้วิจัย ชฎาพร คงนาม
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2446 ศึกษาเกณฑ์คลาดเคลื่อนจากค่าความไม่แน่นอนของการวิเคราะห์ฟอสฟอรัสทั้งหมดในปุ๋ยอินทรีย์
ผู้วิจัย ศุภากร ดวนใหญ่
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2445 ศึกษาเกณฑ์คลาดเคลื่อนจากค่าความไม่แน่นอนของการวัดปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในปุ๋ยอินทรีย์
ผู้วิจัย นันทกานต์ ขุนโหร
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2444 การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารออกฤทธิ์กลุ่มสารป้องกันกำจัดโรคพืชในผลิตภัณฑ์สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช : ไตรไซคลาโซล
ผู้วิจัย ทัศนี อัฏฐพรพงษ์
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2443 การประเมินผลกระทบสารกำจัดวัชพืชพาราควอตตกค้างในไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ต่อสุขภาพเกษตรกร
ผู้วิจัย ปภัสรา คุณเลิศ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2442 การประเมินผลกระทบจากสารกำจัดแมลงกลุ่มออร์กาโนฟอสฟอรัสต่อสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่ปลูกผักจังหวัดนครปฐม
ผู้วิจัย สิริพร เหลืองสุชนกุล
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2441 การประเมินผลกระทบสารกำจัดวัชพืชอะทราซีนตกค้างในไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ผู้วิจัย ปภัสรา คุณเลิศ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2440 การประเมินผลกระทบของสารตกค้างในแม่น้ำเจ้าพระยาและท่าจีน
ผู้วิจัย จันทิมา ผลกอง
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2439 การประเมินผลกระทบของสารตกค้างไกลโฟเซต อะทราซีน และอะลาคลอร์ในดิน
ผู้วิจัย มลิสา เวชยานนท์
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2437 การประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารกำจัดแมลงแลมบ์ดา-ไซฮาโลทริน (lambda-cyhalothrin) ต่อผู้ใช้ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัย อำนาจ กะฐินเทศ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2436 ศึกษาปริมาณสารพิษตกค้างในผลไม้: พืชตระกูลส้ม (ส้มเขียวหวาน, ส้มโอ และมะนาว) ลิ้นจี่ ลำไย ชมพู่และฝรั่ง
ผู้วิจัย วะนิดา สุขประเสริฐ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2435 ศึกษาสารพิษตกค้างในพืชผัก พืชที่ปลูกในน้ำ พืชหัวใต้ดิน พืชสมุนไพร และพืชตระกูลกะหล่ำ
ผู้วิจัย บุญทวีศักดิ์ บุญทวี
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2434 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของเมทอกซีฟีโนไซด์ (methoxyfenozide) ในกะเพราเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย ชนิตา ทองแซม
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2433 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของลูเฟนนูรอน (lufenuron) ในกะเพราเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย วิชุตา ควรหัตร์
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
10
2432 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของอีมาเมกติน เบนโซเอต (emamectin benzoate) ในผักชีฝรั่ง เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย วาเลนไทน์ เจือสกุล
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
7
2431 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของคลอแรนทรานิลิโพรล (chlorantraniliprole) ในคะน้าเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย ประพันธ์ เคนท้าว
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2430 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างลูเฟนนูรอน (lufenuron) ในคะน้าเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 1 - 3
ผู้วิจัย ศศิณิฎา คงแช่มดี
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2429 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของอินดอกซาคาร์บ (indoxacarb) ในพริกเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย วิทยา บัวศรี
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2428 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของคลอแรนทรานิลิโพรล (chlorantraniliprole) ในพริกเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย ชนิกัณดา เทสสิริ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2427 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของอิมาเม็กติน เบนโซเอท ในพริกเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย ปิยะศักดิ์ อรรคบุตร
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2426 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของไตรฟลอกซี่สโตรบิน (tirfloxystrobin) ในพริกเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย บุญทวีศักดิ์ บุญทวี
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2425 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของสไปโรมีซิเฟน (spiromesifen) ในพริกเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย สุพัตรี หนูสังข์
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2424 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของอีมาเมกตินเบนโซเอต (Emamectin benzoate) ในส้มเขียวหวาน เพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง (ครั้งที่ 1-2)
ผู้วิจัย พชร เมินหา
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2423 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของไดฟีโนโคนาโซล (difenoconazole) ในส้มเขียวหวานเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย พรนภัส วิชานนะณานนท์
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2422 วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างของไพริดาเบน (pyridaben) ในส้มเขียวหวานเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง
ผู้วิจัย ประชาธิปัตย์ พงษ์ภิญโญ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2421 การศึกษาการเสื่อมสภาพของผลิตภัณฑ์สารป้องกันกำจัดโรคพืชเบโนมิล (benomyl)
ผู้วิจัย ฉลองรัตน์ หมื่นขวา
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2420 การศึกษาการเสื่อมสภาพของผลิตภัณฑ์สารกำจัดแมลงเฟนโทเอต (phenthoate)
ผู้วิจัย อนุชา ผลไสว
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2419 การศึกษาร่วมกันในวิธีวิเคราะห์ปริมาณสารออกฤทธิ์อะมีทรีน (ametryn) ในผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายทางการเกษตร
ผู้วิจัย พิเชษฐ์ ทองละเอียด
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8
9
2418 การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารออกฤทธิ์ฟลูซิลาโซล (flusilazole) ในผลิตภัณฑ์สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ผู้วิจัย ดวงรัตน์ วิลาสินี
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2417 การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารออกฤทธิ์ เพนดิเมทาลิน (pendimethalin) ในผลิตภัณฑ์สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ผู้วิจัย อิสริยะ สืบพันธุ์ดี
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2416 การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารออกฤทธิ์ไทอะมีทอกแซมในผลิตภัณฑ์สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ผู้วิจัย สุกัญญา คำคง
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2415 ศึกษาสารออกฤทธิ์ในสารสกัดพืชที่มีศักยภาพในการยับยั้งเชื้อรา Cercospora kikuchii และสกัดสารกึ่งบริสุทธิ์เพื่อควบคุมคุณภาพในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ผู้วิจัย ณัฐพร ฉันทศักดา
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเชียงใหม่ และศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชพิษณุโลก
8
2414 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการจัดจำแนกจุลินทรีย์ในปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์
ผู้วิจัย อำนาจ เอี่ยมวิจารณ์
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2413 ตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ปริมาณและประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ในปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์
ผู้วิจัย อำนาจ เอี่ยมวิจารณ์
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2412 เทคนิคประเมินชีวมวลและการกักเก็บคาร์บอนในแปลงมันสำปะหลังโดยไม่ทำลายตัวอย่าง
ผู้วิจัย สายน้ำ อุดพ้วย
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ และศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชพิษณุโลก
9
2411 การประเมินชีวมวลและการกักเก็บคาร์บอนของมันสำปะหลังในระดับพื้นที่
ผู้วิจัย นุชนาฏ ตันวรรณ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่, ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชพิษณุโลก และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครสวรรค์
10
2410 การประเมินชีวมวลและการกักเก็บคาร์บอนของมันสำปะหลังในระดับแปลง
ผู้วิจัย นุชนาฏ ตันวรรณ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชพิษณุโลก และศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชสุราษฎร์ธานี
10
2409 เทคนิคประเมินชีวมวลและการกักเก็บคาร์บอนในแปลงอ้อยโดยไม่ทำลายตัวอย่าง
ผู้วิจัย สายน้ำ อุดพ้วย
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่
8
2408 การประเมินชีวมวลและการกักเก็บคาร์บอนของอ้อยในระดับพื้นที่
ผู้วิจัย นุชนาฏ ตันวรรณ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชลพบุรี และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครสวรรค์
8
2407 การประเมินชีวมวลและการกักเก็บคาร์บอนของอ้อยในระดับแปลง
ผู้วิจัย นุชนาฏ ตันวรรณ
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชลพบุรี
11
2406 ศึกษารูปแบบการจัดการดินเพื่อการผลิตข้าวในระบบเกษตรอินทรีย์ในกลุ่มดินเหนียว
ผู้วิจัย รมิดา ขันตรีกรม
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครปฐม และกรมพัฒนาที่ดิน
9
2405 ศึกษารูปแบบการจัดการดินเพื่อการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนในระบบเกษตรอินทรีย์ในกลุ่มดินเหนียว
ผู้วิจัย รมิดา ขันตรีกรม
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครปฐม และกรมพัฒนาที่ดิน
8
2404 การศึกษาการจัดการดินเพื่อการผลิตกระเทียมระบบเกษตรอินทรีย์ในกลุ่มดินทราย
ผู้วิจัย สรัตนา เสนาะ
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยข้าวคลองหลวง กรมการข้าว และกองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
10
2403 การศึกษาผลของการจัดการปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมในระบบการปลูกถั่วเขียวหลังนาต่ออัตราการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในนาข้าวในดินร่วนปนเหนียวถึงดินเหนียว จังหวัดชัยนาท
ผู้วิจัย จิตรา เกาะแก้ว
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2402 การศึกษาผลของปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดหวานพันธุ์ไฮบริกซ์ 3
ผู้วิจัย กัลยกร โปร่งจันทึก
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชลพบุรี, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครสวรรค์ และกองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2401 ศึกษาการตอบสนองและการดูดใช้ธาตุอาหารของข้าวโพดข้าวเหนียวในกลุ่มดินร่วน-ร่วนเหนียว
ผู้วิจัย วนิดา โนบรรเทา
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2400 ศึกษาการตอบสนองและการดูดใช้ธาตุอาหารของข้าวโพดหวานในกลุ่มดินร่วน-ร่วนเหนียว
ผู้วิจัย ชัชธนพร เกื้อหนุน
หน่วยงาน กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2399 ศึกษาประสิทธิภาพการใช้น้ำของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ลูกผสมอายุเก็บเกี่ยวยาว
ผู้วิจัย ศุภกาญจน์ ล้วนมณี
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ และกองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
9
2398 ศึกษาประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ลูกผสมอายุเก็บเกี่ยวยาวในกลุ่มดินเหนียว-ร่วนเหนียวสีดำ จังหวัดนครสวรรค์
ผู้วิจัย กิตจเมธ แจ้งศิริกุล
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรราชบุรี, ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ และกแองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2397 การจัดการธาตุอาหารพืชระยะยาวด้วยวัสดุอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังต่อผลผลิตและการกักเก็บคาร์บอนในดิน
ผู้วิจัย สมฤทัย ตันเจริญ
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา, ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น, ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง และกองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
8
2396 มันเทศพันธุ์พิจิตร 2 สำหรับอุตสาหกรรมแป้ง
ผู้วิจัย วราพงษ์ ภิระบรรณ์
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร
8
2395 ถั่วเขียวพันธุ์ชัยนาท 3
ผู้วิจัย อัจฉรา จอมสง่าวงศ์
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท, สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบูรณ์, ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเชียงใหม่, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา และศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น
9
2394 ตากฟ้า 8 : ฝ้ายเส้นใยสีน้ำตาล ทนทานเพลี้ยจักจั่น อายุเก็บเกี่ยวสั้น
ผู้วิจัย พยุดา จันทร์เกื้อ
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์, ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่, กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรราชบุรี, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเลย, ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสกลนคร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมุกดาหาร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบูรณ์, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่ และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลำปาง
9
2393 การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบห้อม
ผู้วิจัย วิมลวรรณ วัฒนวิจิตร
หน่วยงาน กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูผผลิตผลเกษตร และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่
10
2392 การศึกษาฟิล์มเจาะรูขนาดไมครอนเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้
ผู้วิจัย คมจันทร์ สรงจันทร์
หน่วยงาน กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร
8
2391 การวิจัยและพัฒนาการผลิตปาล์มน้ำมันอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบนของไทย
ผู้วิจัย สุธีรา ถาวรรัตน์
หน่วยงาน สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 7, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่สูงเชียงราย, ศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุราษฎร์ธานี, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรชุมพร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครศรีธรรมราช, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพังงา, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรระนอง, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกระบี่ และสำนักผู้เชี่ยวชาญ กรมวิชการเกษตร
8
2390 การแยกและคัดเลือก Streptomyces sp. ที่ผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในการควบคุมเชื้อรา Ganoderma boninense สาเหตุโรคลำต้นเน่าปาล์มน้ำมัน
ผู้วิจัย ธีระ ชูแก้ว
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยปาล์มน้ำมันสุราษฎร์ธานี สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน
9
2389 การเพิ่มศักยภาพการผลิตบัวบกคุณภาพเพื่อเป็นพืชสมุนไพรปลอดสารพิษ และโลหะหนัก
ผู้วิจัย อุทัยวรรณ ทรัพย์แก้ว
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย และศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมเชียงใหม่
8
2388 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารกำจัดศัตรูพืชจากสารสกัดน้อยหน่าเพื่อการป้องกันกำจัดหนอนใยผักในคะน้า
ผู้วิจัย ธิติยาภรณ์ อุดมศิลป์
หน่วยงาน กลุ่มงานวิจัยวัตถุมีพิษการเกษตรจากสารธรรมชาติ กองวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร และสำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
7
2387 การพัฒนาเครืองพ่นสารป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดแบบอุโมงค์ลม
ผู้วิจัย ยุทธนา เครือหาญชาญพงค์
หน่วยงาน สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม, สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรตาก, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุโขทัย, ด่านตรวจพืชท่าอากาศยานภูเก็ต, สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 และสำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
9
2386 การพัฒนาการหมักกาแฟอะราบิกาแบบครบวงจรมุ่งสู่ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน
ผู้วิจัย โกเมศ สัตยาวุธ
หน่วยงาน กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร, ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่ และสถาบันวิจัยพืชสวน
9
2385 การผลิตสารยับยั้งเอนไซม์แอลฟ่า-กลูโคซิเดสจากหอมแดงและการขยายผลสู่เชิงพาณิชย์
ผู้วิจัย ปาริชาติ อยู่แพทย์
หน่วยงาน
8
2384 การค้นหาและพัฒนาเครื่องหมายสนิปส์ใหม่เพื่อร่นระยะเวลาการปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลัง ให้มีไซยาไนด์ต่ำ ต้านทานโรครากปมและโรคใบด่างมันสำปะหลัง
ผู้วิจัย มัลลิกา แก้ววิเศษ
หน่วยงาน สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ, ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง, สำนักพัฒนาการอารักขาพืช, ฝ่ายเครื่องมือและวิจัยทางวิทยาศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และกองแผนงานและวิชาการ
10
2383 การขอรับรองห้องปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์มาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 ของศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเชียงใหม่
ผู้วิจัย สุมนา จำปา
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเชียงใหม่
8